ข้ามไปเนื้อหา

ยูฟ่ายูโรปาลีก ฤดูกาล 2019–20 รอบคัดเลือกและรอบเพลย์ออฟ

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี

การแข่งขัน ยูฟ่ายูโรปาลีก ฤดูกาล 2019–20 รอบคัดเลือกและรอบเพลย์ออฟ เริ่มต้นเมื่อวันที่ 27 มิถุนายน และจะสิ้นสุดในวันที่ 29 สิงหาคม ค.ศ. 2019.[1]

ทั้งหมด 178 ทีมที่เข้าร่วมในระบบการคัดเลือกของ ยูฟ่ายูโรปาลีก ฤดูกาล 2019–20, ประกอบไปด้วยรอบคัดเลือกและรอบเพลย์ออฟ, กับ 35 ทีมในเส้นทางแชมเปียนส์และ 143 ทีมในเส้นทางหลัก. 21 ผู้ชนะในรอบเพลย์ออฟ (8 จากเส้นทางแชมเปียนส์, 13 จากเส้นทางหลัก) ผ่านเข้าสู่ รอบแบ่งกลุ่ม, ที่เข้าร่วมกับ 6 ผู้แพ้ของ แชมเปียนส์ลีก รอบเพลย์ออฟ (4 จาก เส้นทางแชมเปียนส์, 2 จาก เส้นทางลีก), และ 4 ผู้แพ้เส้นทางลีกของ แชมเปียนส์ลีก รอบคัดเลือกรอบสาม.[2]

ทีม

[แก้]

เส้นทางแชมเปียนส์

[แก้]

เส้นทางแชมเปียนส์ประกอบไปด้วยทีมแชมป์ลีกทั้งหมดที่ตกรอบมาจาก เส้นทางแชมเปียนส์ รอบคัดเลือกของ แชมเปียนส์ลีก, และประกอบไปด้วยรอบต่างๆ ดังนี้:

ด้านล่างนี้คือทีมที่เข้าร่วมการแข่งขัน (กับค่าสัมประสิทธิ์สโมสรยูฟ่า ปี ค.ศ. 2019 ของพวกเขา),[3] ถูกจัดกลุ่มโดยรอบเริ่มต้นของพวกเขา.[4]

ความหมายของสัญลักษณ์สี
ผู้ชนะของรอบเพลย์ออฟจะผ่านเข้าสู่ รอบแบ่งกลุ่ม
รอบเพลย์ออฟ
ทีม Coeff.[3]
สกอตแลนด์ เซลติก[Q3] 31.000
เดนมาร์ก โคเปนเฮเกน[Q3] 31.000
กรีซ ปาโอก[Q3] 23.500
อาเซอร์ไบจาน คาราบัก[Q3] 22.000
สโลวีเนีย มารีบอร์[Q3] 18.500
ฮังการี เฟเรนส์วาโรช[Q3] 3.500
รอบคัดเลือกรอบสาม
ทีม Coeff.[3]
เบลารุส บาเต บอรีซอฟ[Q2] 27.500
อิสราเอล มัคคาบี เทล อาวีฟ[Q2] 16.000
ฟินแลนด์ เอชเจเค[Q2] 9.000
สาธารณรัฐไอร์แลนด์ ดันดอล์ก[Q2] 7.000
เวลส์ เดอะ นิว เซนต์ส[Q2] 6.000
สวีเดน อาอีคอ[Q2] 5.500
มอลตา วัลเล็ตตา[Q2] 4.250
บอสเนียและเฮอร์เซโกวีนา ซาราเยโว[Q1 Bye] 4.250
เอสโตเนีย นูมเมคาลยู[Q2] 3.500
มอนเตเนโกร ซุตเยสกา นิคชิช[Q2] 3.000
ประเทศจอร์เจีย ซาบูร์ตาโล ทบิลีซี[Q2] 0.950
รอบคัดเลือกรอบสอง
ทีม Coeff.[3]
คาซัคสถาน อัสตานา[Q1] 27.500
บัลแกเรีย ลูโดโกเรตส์ รัซกราด[Q1] 27.000
มอลโดวา เชริฟฟ์ ตีรัสปอล[Q1] 12.250
ลักเซมเบิร์ก เอฟ91 ดูเดแลงก์[Q1] 6.250
มาซิโดเนียเหนือ ชคืนดิยา[Q1] 6.000
สโลวาเกีย สโลวาน บราติสลาวา[Q1] 6.000
ลิทัวเนีย ซูดูวา[Q1] 4.250
ยิบรอลตาร์ ลินคอล์น เรด อิมป์ส[PR SF] 4.250
อันดอร์รา ซานตาโคโลมา[PR F] 4.000
โปแลนด์ ปัสต์กลีวิตเซ[Q1] 3.850
แอลเบเนีย ปาร์ติซานี[Q1] 3.000
ไอซ์แลนด์ วาลูร์[Q1] 2.750
ไอร์แลนด์เหนือ ลินฟีลด์[Q1] 2.250
หมู่เกาะแฟโร เอชเบทอร์สเฮาน์[Q1] 1.500
ลัตเวีย ริกา[Q1] 1.125
อาร์มีเนีย อารารัต-อาร์เมเนีย[Q1] 1.050
ซานมารีโน เทรเพนเน[PR SF] 0.750
คอซอวอ เฟโรนิเคลี[Q1] 0.500
หมายเหตุ
  1. Q3 ผู้แพ้ของแชมเปียนส์ลีก รอบคัดเลือกรอบสาม (เส้นทางแชมเปียนส์).
  2. Q2 ผู้แพ้ของแชมเปียนส์ลีก รอบคัดเลือกรอบสอง (เส้นทางแชมเปียนส์).
  3. Q1 Bye ผู้แพ้ของแชมเปียนส์ลีก รอบคัดเลือกรอบแรกซึ่งได้รับสิทธิ์บายสู่ยูโรปาลีก รอบคัดเลือกรอบสาม.
  4. Q1 ผู้แพ้ของแชมเปียนส์ลีก รอบคัดเลือกรอบแรก.
  5. PR F ผู้แพ้ของแชมเปียนส์ลีก รอบเบื้องต้น รอบชิงชนะเลิศ.
  6. PR SF ผู้แพ้ของแชมเปียนส์ลีก รอบเบื้องต้น รอบรองชนะเลิศ.

เส้นทางหลัก

[แก้]

เส้นทางหลักประกอบไปด้วยผู้ชนะฟุตบอลถ้วยทั้งหมดและทีมที่ไม่ได้เป็นแชมป์ลีกที่ไม่ได้ผ่านเข้ารอบโดยตรงสำหรับรอบแบ่งกลุ่ม, และประกอบไปด้วยรอบต่างๆ:

  • รอบเบื้องต้น (14 ทีม): 14 ทีมที่เข้าสู่ในรอบนี้.
  • รอบคัดเลือกรอบแรก (94 ทีม): 87 ทีมที่เข้าสู่ในรอบนี้, และ 7 ผู้ชนะของรอบเบื้องต้น.
  • รอบคัดเลือกรอบสอง (74 ทีม): 27 ทีมที่เข้าสู่ในรอบนี้, และ 47 ผู้ชนะของรอบคัดเลือกรอบแรก.
  • รอบคัดเลือกรอบสาม (52 ทีม): 15 ทีมที่เข้าสู่ในรอบนี้ (ประกอบไปด้วย 2 เส้นทางลีก ผู้แพ้ของ แชมเปียนส์ลีก รอบคัดเลือกรอบสอง), และ 37 ผู้ชนะของรอบคัดเลือกรอบสอง.

ด้านล่างนี้คือทีมที่เข้าร่วมการแข่งขัน (กับค่าสัมประสิทธิ์สโมสรยูฟ่า ปี ค.ศ. 2019 ของพวกเขา),[3] ถูกจัดกลุ่มโดยรอบเริ่มต้นของพวกเขา.[4]

ความหมายของสัญลักษณ์สี
ผู้ชนะของรอบเพลย์ออฟจะผ่านเข้าสู่ รอบแบ่งกลุ่ม
รอบคัดเลือกรอบสาม
ทีม Coeff.[3]
เนเธอร์แลนด์ เปเอสเฟ ไอนด์โฮเฟิน[CL] 37.000
เช็กเกีย สปาร์ตาปราก 35.500
เช็กเกีย วิกตอเรีย เพิลเซน[CL] 33.000
โปรตุเกส บรากา 31.000
เนเธอร์แลนด์ ไฟเยอโนร์ด 22.000
รัสเซีย สปาร์ตัค มอสโก 16.000
กรีซ อาเอก เอเธนส์ 14.000
เดนมาร์ก มิดทิลลันด์ 14.000
โครเอเชีย ริเยกา 13.500
ออสเตรีย ออสเตรีย เวียน 8.000
ตุรกี แทรบซอนสปอร์ 8.000
เบลเยียม อันต์เวิร์ป 7.980
ยูเครน มาริอูปอล 7.780
สวิตเซอร์แลนด์ ธูน 5.380
อิสราเอล บีไน เยฮูดา 3.725
รอบคัดเลือกรอบสอง
ทีม Coeff.[3]
เบลเยียม เคเอเอ เกนต์ 29.500
เยอรมนี ไอน์ทรัคท์ฟรังค์ฟวร์ท 24.000
สเปน อัสปัญญ็อล 20.713
เซอร์เบีย พาร์ทีซาน 18.000
อังกฤษ วุลเวอร์แฮมป์ตันวอนเดอเรอส์ 17.092
อิตาลี โตรีโน 14.945
ฝรั่งเศส สทราชบูร์ 11.699
ยูเครน ซอร์ยา ลูแฮนส์ค 11.500
เนเธอร์แลนด์ อาแซด อัลค์มาร์ 10.500
รัสเซีย อาร์เซนัลตูลา 10.109
โปรตุเกส วิตอเรีย เด กีมาไรช์ 9.646
ตุรกี เยนิ มาลัตยาสปอร์ 6.920
เนเธอร์แลนด์ เอฟเซ อูเตรคต์ 6.486
ออสเตรีย สตวร์ม กราซ 6.250
อาเซอร์ไบจาน กาบาลา 6.250
เช็กเกีย ยาบลอเนค 5.735
เช็กเกีย มลาดา บอเลสลาฟ 5.735
กรีซ อาโตรมิตอส 5.520
กรีซ อาริส 5.520
โครเอเชีย โอซิเยค 5.475
เดนมาร์ก เอสเบิร์ก 5.405
สวิตเซอร์แลนด์ ลูเซิร์น 5.380
ไซปรัส เออีแอล ลิมาสซอล 4.985
สวีเดน บีเค ฮัคเคิน 4.180
โรมาเนีย วีตอรุล คอนสแตนตา 4.000
โปแลนด์ ลีเชีย กดัญสค์ 3.850
บัลแกเรีย โลโคโมติฟ พลอฟดิฟ 3.500
รอบคัดเลือกรอบแรก
ทีม Coeff.[3]
โปแลนด์ แลเกีย วอร์ซอ 24.500
โรมาเนีย เอฟซีเอสบี 23.000
สวีเดน มัลเมอ เอฟเอฟ 20.000
นอร์เวย์ โมลด์ 13.500
ไซปรัส อพอลลอน ลิมาสซอล 12.000
อิสราเอล ฮาโปเอล เบียร์ เชวา 12.000
ฮังการี เฟเฮอร์วาร์ 9.000
เบลารุส ดินาโม มินสค์ 9.000
สโลวาเกีย สปาร์ตัค เตร์นาวา 8.500
ไซปรัส เออีเค ลาร์นากา 8.000
โครเอเชีย ไฮจ์ดุ๊ก สปลิต 8.000
เดนมาร์ก บรอนด์บี 7.500
ลิทัวเนีย ชัลกิริส 6.000
สกอตแลนด์ อาเบอร์ดีน 5.500
สกอตแลนด์ เรนเจอส์ 5.250
บอสเนียและเฮอร์เซโกวีนา ซรินจ์สกี มอสตาร์ 5.250
คาซัคสถาน ไครัต 5.000
แอลเบเนีย คูเคอซี 4.750
อาร์มีเนีย อาลาชเคิร์ต 4.500
เซอร์เบีย รัดนิคกี นิช 4.450
เซอร์เบีย คูคาริคกี 4.450
สกอตแลนด์ คิลมาร์น็อค 4.425
เบลารุส ชัคห์ตียอร์ ซอลีกอร์สค์ 4.375
เบลารุส วิเตบสค์ 4.375
สโลวีเนีย ดอมซาเล 4.250
ไอร์แลนด์เหนือ ครูซาเดอร์ส 4.250
ลัตเวีย เวนต์สปิลส์ 4.250
ไอซ์แลนด์ เซนต์ยาร์นาน 4.250
สวีเดน ไอเอฟเค นอร์โคปิง 4.180
นอร์เวย์ เฮาเกซุนด์ 4.040
นอร์เวย์ บรานน์ 4.040
ลักเซมเบิร์ก ฟอลา เอสช์ 4.000
ลีชเทินชไตน์ วาดุซ 4.000
คาซัคสถาน ทอบอล 3.850
คาซัคสถาน ออร์ดาบาซี 3.850
โปแลนด์ คราโคเวีย 3.850
อาเซอร์ไบจาน เนฟต์ชี บากู 3.800
อาเซอร์ไบจาน ซาบาอิล 3.800
สโลวีเนีย โอลิมปิยา ลูบลิยานา 3.750
สาธารณรัฐไอร์แลนด์ คอร์ก ซิตี 3.750
อาร์มีเนีย ปยูนิค 3.750
ประเทศจอร์เจีย ดินาโม ทบิลีซี 3.750
อิสราเอล มัคคาบี ไฮฟา 3.725
บัลแกเรีย ซีเอสเคเอ โซเฟีย 3.500
บัลแกเรีย เลฟสกี โซเฟีย 3.500
ลิทัวเนีย ริเตริไอ 3.250
มอนเตเนโกร บูดุคนอสต์ พอดกอริซา 3.250
เอสโตเนีย เอฟซีไอ เลวาเดีย 3.250
โรมาเนีย อูนิเวร์ซิตาเตีย ไครโอวา 3.190
สโลวาเกีย ดีเอซี ดูนัจสกา สเตรดา 3.125
สโลวาเกีย รูชอมเบรอค 3.125
หมู่เกาะแฟโร บี36 ทอร์เชาฟน์ 3.000
ประเทศจอร์เจีย ชิคูรา ซัชเคเร 3.000
มอนเตเนโกร ติโตกราด 3.000
ฮังการี เดเบรเซน 3.000
สโลวีเนีย มูรา 3.000
ประเทศจอร์เจีย ตอร์เปโด คูไตซี 2.750
มอลโดวา มิลซามี ออร์ไฮ 2.750
ฮังการี ฮอนเวด 2.500
เอสโตเนีย ฟลอรา 2.500
ลัตเวีย ไลปาจา 2.500
มอลตา ฮิเบอร์เนียนส์ 2.500
ไอซ์แลนด์ เคอาร์ 2.500
มอลตา บัลซาน 2.250
แอลเบเนีย ลาชี 2.250
สาธารณรัฐไอร์แลนด์ แชมร็อก โรเวอส์ 2.250
บอสเนียและเฮอร์เซโกวีนา ซิโรกี บริเย็ก 2.250
เวลส์ คอนนาห์ส ควอย โนแมดส์ 1.750
อาร์มีเนีย บานานต์ส 1.750
สาธารณรัฐไอร์แลนด์ เซนต์ แพทริคส์ แอทเลติก 1.750
มาซิโดเนียเหนือ ชคูปี 1.600
มาซิโดเนียเหนือ อาคาเดมิจา ปันเดฟ 1.600
มาซิโดเนียเหนือ มาเคโดนิจา จีพี 1.600
มอลโดวา เปโตรคุบ ฮินเชสติ 1.550
มอลโดวา สเปรันตา นิสปอเรนี 1.550
แอลเบเนีย เตอูตา 1.500
ฟินแลนด์ คูพีเอส 1.455
ฟินแลนด์ โรพีเอส 1.455
ฟินแลนด์ อินเตอร์ ตูร์คู 1.455
ไอซ์แลนด์ ไบรดาบลิค 1.450
บอสเนียและเฮอร์เซโกวีนา รัดนิค บิเจลจินา 1.425
ลิทัวเนีย คาอูโน ซัลกิริส 1.350
ลัตเวีย อาร์เอฟเอส 1.125
ลักเซมเบิร์ก เจอูเนสเซ เอสช์ 1.100
มอลตา กซิรา ยูไนเต็ด 1.025
เอสโตเนีย นาร์วา ทรานส์ 1.000
มอนเตเนโกร เซตา 0.825
รอบเบื้องต้น
ทีม Coeff.[3]
ซานมารีโน ลา ฟิออริตา 3.000
ลักเซมเบิร์ก พรอเกรส ไนเดอร์คอร์น 2.750
ไอร์แลนด์เหนือ คลิฟตันวิลล์ 2.500
ยิบรอลตาร์ ยูโรปา 2.000
หมู่เกาะแฟโร เอ็นเอสไอ รูนาวิค 1.750
หมู่เกาะแฟโร เคไอ คลาคส์วิค 1.250
คอซอวอ พริชตินา 1.250
อันดอร์รา ซันต์ จูลิอา 1.250
อันดอร์รา เอนกอร์ดานี 1.000
ซานมารีโน เทร ฟิออรี 1.000
เวลส์ แบร์รี ทาวน์ ยูไนเต็ด 0.825
เวลส์ คาร์ดิฟฟ์ เมโทรโปลิแทน ยูนิเวอร์ซิตี 0.825
ยิบรอลตาร์ เซนต์ โจเซฟส์ 0.800
ไอร์แลนด์เหนือ บอลลีเมนา ยูไนเต็ด 0.775
หมายเหตุ
  1. CL ผู้แพ้ของแชมเปียนส์ลีก รอบคัดเลือกรอบสอง (เส้นทางลีก).

วันแข่งขันและวันจับสลากในแต่ละรอบ

[แก้]

ตารางของการแข่งขันมีตามด้านล่างนี้ (การจับสลากทั้งหมดจัดขึ้นที่สำนักงานใหญ่ของยูฟ่า ในเมืองนียง, ประเทศสวิตเซอร์แลนด์).[1]

รอบ วันในการจับสลาก นัดแรก นัดที่สอง
รอบเบื้องต้น 11 มิถุนายน 2019 27 มิถุนายน 2019 4 กรกฎาคม 2019
รอบคัดเลือกรอบแรก 18 มิถุนายน 2019 11 กรกฎาคม 2019 18 กรกฎาคม 2019
รอบคัดเลือกรอบสอง 19 มิถุนายน 2019 25 กรกฎาคม 2019 1 สิงหาคม 2019
รอบคัดเลือกรอบสาม 22 กรกฎาคม 2019 8 สิงหาคม 2019 15 สิงหาคม 2019
รอบเพลย์ออฟ 5 สิงหาคม 2019 22 สิงหาคม 2019 29 สิงหาคม 2019

แต่ละนัดจะลงเล่นในทุกวันอังคารหรือทุกวันพุธแทนที่ตามกำหนดเดิมในทุกวันพฤหัสบดีเนื่องจากความสับสนของโปรแกรมการแข่งขัน.

รอบเบื้องต้น

[แก้]

การจับสลากสำหรับรอบเบื้องต้นได้จัดขึ้นเมื่อวันที่ 11 มิถุนายน พ.ศ. 2562, 13:00 CEST.[5]

การจัดอันดับทีมวาง

[แก้]

ทั้งหมด 14 ทีมจะมีส่วนร่วมในการจับสลากรอบเบื้องต้น. เจ็ดทีมเป็นทีมที่ได้เป็นทีมวางและเจ็ดทีมเป็นทีมที่ไม่ได้เป็นทีมวาง. ทีมที่มาจากสมาคมเดียวกันจะไม่จับมาเจอกัน, และถ้าการจับสลากขึ้นมาเสมอหรือเหมือนกันในการจับสลากคู่สุดท้าย, สองทีมที่ถูกจับขึ้นมาในคู่ปัจจุบันจะย้ายไปสู่การจับคู่ถัดไป.

ทีมที่ได้เป็นทีมวาง ทีมที่ไม่ได้เป็นทีมวาง

สรุปผลการแข่งขัน

[แก้]

นัดแรกจะลงเล่นในวันที่ 27 มิถุนายน, และนัดที่สองในวันที่ 2 และ 4 กรกฎาคม พ.ศ. 2562.

ทีมแรก   ผล   ทีมที่สอง   นัดแรก     นัดที่สอง  
พรอเกรส ไนเดอร์คอร์น ลักเซมเบิร์ก 2–2 () เวลส์ คาร์ดิฟฟ์ เมโทรโปลิแทน ยูนิเวอร์ซิตี 1–0 1–2
ลา ฟิออริตา ซานมารีโน 1–3 อันดอร์รา เอนกอร์ดานี 0–1 1–2
ซันต์ จูลิอา อันดอร์รา 3–6 ยิบรอลตาร์ ยูโรปา 3–2 0–4
บอลลีเมนา ยูไนเต็ด ไอร์แลนด์เหนือ 2–0 หมู่เกาะแฟโร เอ็นเอสไอ รูนาวิค 2–0 0–0
พริชตินา คอซอวอ 1–3 ยิบรอลตาร์ เซนต์ โจเซฟส์ 1–1 0–2
เคไอ คลาคส์วิค หมู่เกาะแฟโร 9–1[A] ซานมารีโน เทร ฟิออรี 5–1 4–0
แบร์รี ทาวน์ ยูไนเต็ด เวลส์ 0–4 ไอร์แลนด์เหนือ คลิฟตันวิลล์ 0–0 0–4

หมายเหตุ

  1. Order of legs reversed after original draw.

นัด

[แก้]

รอบคัดเลือกรอบแรก

[แก้]

การจับสลากสำหรับรอบคัดเลือกรอบแรกได้จัดขึ้นเมื่อวันที่ 18 มิถุนายน พ.ศ. 2562, 15:30 CEST.[6]

การจัดอันดับทีมวาง

[แก้]

ทั้งหมด 94 ทีมได้มีส่วนร่วมในการจับสลากรอบคัดเลือกรอบแรก: 87 ทีมที่เข้าสู่ในรอบนี้, และเจ็ดผู้ชนะของรอบเบื้องต้น. พวกเขาได้ถูกแบ่งออกอยู่ในเก้ากลุ่ม: เจ็ดกลุ่มที่มีสิบทีม, ในขณะที่ห้าทีมเป็นทีมที่เป็นทีมวางและห้าทีมเป็นทีมที่ไม่ได้เป็นทีมวาง, และสองกลุ่มที่มีสิบสองทีม, ในขณะที่หกทีมเป็นทีมวางและหกทีมไม่ได้เป็นทีมวาง. แต่ละหมายเลขได้ถูกกำหนดไว้ล่วงหน้าสำหรับแต่ละทีมโดยยูฟ่าแต่การจับสลากนั้นจะเกิดขึ้นในหนึ่งครั้งสำหรับทุกกลุ่มทั้งหมดที่มีสิบทีมและหนึ่งครั้งสำหรับทุกกลุ่มทั้งหมดที่มีสิบสองทีม.

กลุ่ม 1 กลุ่ม 2 กลุ่ม 3
ทีมที่ได้เป็นทีมวาง ทีมที่ไม่ได้เป็นทีมวาง ทีมที่ได้เป็นทีมวาง ทีมที่ไม่ได้เป็นทีมวาง ทีมที่ได้เป็นทีมวาง ทีมที่ไม่ได้เป็นทีมวาง
กลุ่ม 4 กลุ่ม 5 กลุ่ม 6
ทีมที่ได้เป็นทีมวาง ทีมที่ไม่ได้เป็นทีมวาง ทีมที่ได้เป็นทีมวาง ทีมที่ไม่ได้เป็นทีมวาง ทีมที่ได้เป็นทีมวาง ทีมที่ไม่ได้เป็นทีมวาง
กลุ่ม 7 กลุ่ม 8 กลุ่ม 9
ทีมที่ได้เป็นทีมวาง ทีมที่ไม่ได้เป็นทีมวาง ทีมที่ได้เป็นทีมวาง ทีมที่ไม่ได้เป็นทีมวาง ทีมที่ได้เป็นทีมวาง ทีมที่ไม่ได้เป็นทีมวาง
หมายเหตุ
  1. ผู้ชนะของรอบเบื้องต้น. ทีมที่อยู่ใน ตัวเอียง คือทีมที่เอาชนะทีมที่มีค่าสัมประสิทธิ์สูงกว่า, จีงส่งผลให้มีประสิทธิภาพต่อค่าสัมประสิทธิ์ของคู่แข่งขันของพวกเขาในการจับสลาก.

สรุปผลการแข่งขัน

[แก้]

นัดแรกจะลงเล่นในวันที่ 9, 10 และ 11 กรกฎาคม, และนัดที่สองในวันที่ 16, 17 และ 18 กรกฎาคม พ.ศ. 2562.

ทีมแรก   ผล   ทีมที่สอง   นัดแรก     นัดที่สอง  
มัลเมอ เอฟเอฟ สวีเดน 11–0 ไอร์แลนด์เหนือ บอลลีเมนา ยูไนเต็ด 7–0 4–0
คอนนาห์ส ควูไอย์ โนแมดส์ เวลส์ 3–2 สกอตแลนด์ คิลมาร์น็อก 1–2 2–0
คูพีเอส ฟินแลนด์ 3–1[A] เบลารุส วิเตบสค์ 2–0 1–1
ไบรดาบลิก ไอซ์แลนด์ 1–2 ลีชเทินชไตน์ วาดุซ 0–0 1–2
บรานน์ นอร์เวย์ 3–4 สาธารณรัฐไอร์แลนด์ แชมร็อก โรเวอส์ 2–2 1–2
ออร์ดาบาซี คาซัคสถาน 3–0 ประเทศจอร์เจีย ตอร์เปโด คูไตซี 1–0 2–0
ยูโรปา ยิบรอลตาร์ 0–3 โปแลนด์ แลเกีย วอร์ซอ 0–0 0–3
ซีเอสเคเอ โซเฟีย บัลแกเรีย 4–0 มอนเตเนโกร ติโตกราด 4–0 0–0
กซิรา ยูไนเต็ด มอลตา 3–3 () โครเอเชีย ไฮจ์ดุ๊ก สปลิต 0–2 3–1
ฟลอรา เอสโตเนีย 4–2[A] เซอร์เบีย รัดนิคกี นิช 2–0 2–2
มัคคาบี ไฮฟา อิสราเอล 5–2 สโลวีเนีย มูรา 2–0 3–2
เดเบรเซน ฮังการี 4–1 แอลเบเนีย คูเคอซี 3–0 1–1
คูคาริคกิ เซอร์เบีย 8–0 อาร์มีเนีย บานานต์ส 3–0 5–0
เจอูเนสเซ เอสช์ ลักเซมเบิร์ก 1–1 () คาซัคสถาน ทอบอล 0–0 1–1
เอฟซีเอสบี โรมาเนีย 4–1 มอลโดวา มิลซามี ออร์ไฮ 2–0 2–1
ครูซาเดอร์ส ไอร์แลนด์เหนือ 5–2 หมู่เกาะแฟโร บี36 ทอร์เชาฟน์ 2–0 3–2
บรอนด์บี เดนมาร์ก 4–3[A] ฟินแลนด์ อินเตอร์ ตูร์คู 4–1 0–2
โมลด์ นอร์เวย์ 7–1 ไอซ์แลนด์ เคอาร์ 7–1 0–0
เซนต์ โจเซฟส์ ยิบรอลตาร์ 0–10 สกอตแลนด์ เรนเจอส์ 0–4 0–6
คอร์ก ซิตี สาธารณรัฐไอร์แลนด์ 2–3 ลักเซมเบิร์ก พรอเกรส ไนเดอร์คอร์น 0–2 2–1
รูซอมเบรอค สโลวาเกีย 0–4[A] บัลแกเรีย เลฟสกี โซเฟีย 0–2 0–2
อาคาเดมีจา ปันเดฟ มาซิโดเนียเหนือ 0–6 บอสเนียและเฮอร์เซโกวีนา ซรินจ์สกี มอสตาร์ 0–3 0–3
สเปรันตา นิสปอเรนี มอลโดวา 0–9[A] อาเซอร์ไบจาน เนฟต์ชี บากู 0–3 0–6
เซตา มอนเตเนโกร 1–5 ฮังการี เฟเฮอร์วาร์ 1–5 0–0
ชัคห์ตียอร์ ซอลีกอร์สค์ เบลารุส 2–0 มอลตา ฮิเบอร์เนียนส์ 1–0 1–0
โอลิมปิยา ลูบลิยานา สโลวีเนีย 4–3 ลัตเวีย อาร์เอฟเอส 2–3 2–0
ฮอนเวด ฮังการี 4–2 ลิทัวเนีย ซัลกิริส 3–1 1–1
อาลาชเคิร์ต อาร์มีเนีย 6–1 มาซิโดเนียเหนือ มาเคดอนิจา จีพี 3–1 3–0
รัดนิก บิเยลยินา บอสเนียและเฮอร์เซโกวีนา 2–2
(ดวลลูกโทษ 2–3)
สโลวาเกีย สปาร์ตัค เตอร์นาวา 2–0 0–2
(ต่อเวลา)
ฟอลา เอสช์ ลักเซมเบิร์ก 2–4 ประเทศจอร์เจีย ชิคูรา ซัชเคเร 1–2 1–2
ดินาโม ทบิลีซี ประเทศจอร์เจีย 7–0 อันดอร์รา เอนกอร์ดานี 6–0 1–0
ซิโรกิ บริเย็ก บอสเนียและเฮอร์เซโกวีนา 2–4 คาซัคสถาน ไครัต 1–2 1–2
ดีเอซี ดูนัจสกา สเตรดา สโลวาเกีย 3–3 ()[A] โปแลนด์ คราคอเวีย 1–1 2–2
(ต่อเวลา)
คาอูโน ซัลกิริส ลิทัวเนีย 0–6 ไซปรัส อาพอลลอน ลิมาสซอล 0–2 0–4
เวนท์สปิลส์ ลัตเวีย 3–1 แอลเบเนีย เตอูตา 3–0 0–1
เซนต์ยาร์นาน ไอซ์แลนด์ 4–4 () เอสโตเนีย เอฟซีไอ เลวาเดีย 2–1 2–3
(ต่อเวลา)
คลิฟตันวิลล์ ไอร์แลนด์เหนือ 1–6 นอร์เวย์ เฮาเกซุนด์ 0–1 1–5
ริเตริไอ ลิทัวเนีย 1–1 () หมู่เกาะแฟโร เคไอ คลาคส์วิค 1–1 0–0
ไลปายา ลัตเวีย 3–2[A] เบลารุส ดินาโม มินสค์ 1–1 2–1
เซนต์ แพทริกส์ แอทเลติก สาธารณรัฐไอร์แลนด์ 1–4[A] สวีเดน ไอเอฟเค นอร์โคปิง 0–2 1–2
อาเบอร์ดีน สกอตแลนด์ 4–2 ฟินแลนด์ โรพีเอส 2–1 2–1
บัลซาน มอลตา 3–5[A] สโลวีเนีย ดอมซาเล 3–4 0–1
ลาชี แอลเบเนีย 1–2 อิสราเอล ฮาโปเอล เบียร์ เชวา 1–1 0–1
นาร์วา ทรานส์ เอสโตเนีย 1–6[A] มอนเตเนโกร บูดุคนอสต์ พอดกอริซา 0–2 1–4
ซาบาอิล อาเซอร์ไบจาน 4–6 โรมาเนีย ยูนิเวร์ซิตาเตีย ไครโอวา 2–3 2–3
ปยูนิก อาร์มีเนีย 5–4 มาซิโดเนียเหนือ ชคูปิ 3–3 2–1
เออีเค ลาร์นากา ไซปรัส 2–0 มอลโดวา เปโตรคุบ ฮินเชสติ 1–0 1–0

หมายเหตุ

  1. 1.00 1.01 1.02 1.03 1.04 1.05 1.06 1.07 1.08 1.09 Order of legs reversed after original draw.

แมตช์

[แก้]

รอบคัดเลือกรอบสอง

[แก้]

การจัดอันดับทีมวาง

[แก้]

ทั้งหมด 18 ทีมได้มีส่วนร่วมในการจับสลากรอบคัดเลือกรอบสองเส้นทางแชมเปียนส์.

  • ทีมวาง: 15 จาก 16 ผู้แพ้ของแชมเปียนส์ลีก รอบคัดเลือกรอบแรก (รวมไปถึงผู้แพ้ของแชมเปียนส์ลีก รอบคัดเลือกรอบแรกที่ได้รับสิทธิ์บายสู่รอบคัดเลือกรอบสามตามที่ตัดสินใจโดยการจับสลากเพิ่มเติมจัดขึ้นหลังจากการจับสลากแชมเปียนส์ลีก รอบคัดเลือกรอบแรก)
  • ไม่ได้เป็นทีมวาง: สามทีมผู้แพ้ของแชมเปียนส์ลีก รอบเบื้องต้น

พวกเขาได้ถูกแบ่งออกอยู่ในสามกลุ่มที่มีหกทีม, ในขณะที่ห้าทีมเป็นทีมที่เป็นทีมวางและหนึ่งทีมเป็นทีมที่ไม่ได้เป็นทีมวาง.

เส้นทางแชมเปียนส์
บายสู่รอบคัดเลือกรอบสาม
(ตัดสินใจโดยการจับสลาก)
กลุ่ม 1 กลุ่ม 2 กลุ่ม 3
ทีมวาง ไม่ได้เป็นทีมวาง ทีมวาง ไม่ได้เป็นทีมวาง ทีมวาง ไม่ได้เป็นทีมวาง
บอสเนียและเฮอร์เซโกวีนา Sarajevo ซานมารีโน Tre Penne ยิบรอลตาร์ Lincoln Red Imps อันดอร์รา FC Santa Coloma

ทั้งหมด 74 ทีมได้มีส่วนร่วมในการจับสลากรอบคัดเลือกรอบสองเส้นทางหลัก: 27 ทีมที่เข้าสู่ในรอบนี้, และ 47 ผู้ชนะของรอบคัดเลือกรอบแรก. พวกเขาได้ถูกแบ่งออกอยู่ในเจ็ดกลุ่ม: ห้ากลุ่มที่มีสิบทีม, ในขณะที่ห้าทีมเป็นทีมที่เป็นทีมวางและหนึ่งทีมเป็นทีมที่ไม่ได้เป็นทีมวาง; และสองกลุ่มที่มีสิบสองทีม, ในขณะที่หกทีมเป็นทีมที่เป็นทีมวางและหกทีมเป็นทีมที่ไม่ได้เป็นทีมวาง. แต่ละหมายเลขได้ถูกกำหนดไว้ล่วงหน้าสำหรับแต่ละทีมโดยยูฟ่าแต่การจับสลากนั้นจะเกิดขึ้นในสองครั้ง, หนึ่งครั้งสำหรับกลุ่มที่ 1–5 ที่มีสิบทีมและหนึ่งครั้งสำหรับกลุ่มที่ 6–7 ที่มีสิบสองทีม.

เส้นทางหลัก
กลุ่ม 1 กลุ่ม 2 กลุ่ม 3
ทีมวาง ไม่ได้เป็นทีมวาง ทีมวาง ไม่ได้เป็นทีมวาง ทีมวาง ไม่ได้เป็นทีมวาง
กลุ่ม 4 กลุ่ม 5
ทีมวาง ไม่ได้เป็นทีมวาง ทีมวาง ไม่ได้เป็นทีมวาง
กลุ่ม 6 กลุ่ม 7
ทีมวาง ไม่ได้เป็นทีมวาง ทีมวาง ไม่ได้เป็นทีมวาง
หมายเหตุ
  1. ผู้ชนะของรอบคัดเลือกรอบแรก. Teams in italics defeated a team with a higher coefficient, thus effectively taking the coefficient of their opponent in the draw.
  2. Roma and Antwerp were originally included in the draw but were later promoted to the group stage and third qualifying round respectively, after Milan and KV Mechelen were excluded from the competition.[7][8] They were replaced in the second qualifying round by Torino and KAA Gent respectively (had they originally been included in the draw, both of them would also have been seeded).

สรุปผลการแข่งขัน

[แก้]

นัดแรกจะลงเล่นในวันที่ 23, 24 และ 25 กรกฎาคม, และนัดที่สองในวันที่ 30, 31 กรกฎาคม และ 1 สิงหาคม พ.ศ. 2562.

ทีมแรก   ผล   ทีมที่สอง นัดแรก นัดที่สอง
เส้นทางแชมเปียนส์
ซาราเยโว บอสเนียและเฮอร์เซโกวีนา บาย N/A N/A N/A
เทร เพนเน ซานมารีโน 0–10 ลิทัวเนีย ซูดูวา 0–5 0–5
ปัสต์กลีวิตเซ โปแลนด์ 4–4 () ลัตเวีย ริกา 3–2 1–2
ปาร์ติซานี แอลเบเนีย 1–2 มอลโดวา เชริฟฟ์ ตีรัสปอล 0–1 1–1
อารารัต-อาร์เมเนีย อาร์มีเนีย 4–1 ยิบรอลตาร์ ลินคอล์น เรด อิมป์ส 2–0 2–1
วาลูร์ ไอซ์แลนด์ 1–5 บัลแกเรีย ลูโดโกเรตส์ รัซกราด 1–1 0–4
สโลวาน บราติสลาวา สโลวาเกีย 4–1 คอซอวอ เฟโรนิเคลี 2–1 2–0
ซานตาโคโลมา อันดอร์รา 1–4 คาซัคสถาน อัสตานา 0–0 1–4
เอชเบทอร์สเฮาน์ หมู่เกาะแฟโร 2–3 ไอร์แลนด์เหนือ ลินฟีลด์ 2–2 0–1
ชคืนดิยา มาซิโดเนียเหนือ 2–3 ลักเซมเบิร์ก เอฟ91 ดูเดแลงก์ 1–2 1–1
ทีมแรก   ผล   ทีมที่สอง   นัดแรก     นัดที่สอง  
เส้นทางหลัก
ไอเอฟเค นอร์โคปิง สวีเดน 3–0 ลัตเวีย ไลปายา 2–0 1–0
ฮาโปเอล เบียร์ เชวา อิสราเอล 3–1 คาซัคสถาน ไครัต 2–0 1–1
อาร์เซนัล ตูลา รัสเซีย 0–4 อาเซอร์ไบจาน เนฟต์ชี บากู 0–1 0–3
อัสปัญญ็อล สเปน 7–1 ไอซ์แลนด์ เซนต์ยาร์นาน 4–0 3–1
ดีเอซี ดูนัจสกา สเตรดา สโลวาเกีย 3–5 กรีซ อาโตรมิตอส 1–2 2–3
เฮาเกซุนด์ นอร์เวย์ 3–2 ออสเตรีย สตวร์ม กราซ 2–0 1–2
เออีเค ลาร์นากา ไซปรัส 7–0 บัลแกเรีย เลฟสกี โซเฟีย 3–0 4–0
แลเกีย วอร์ซอ โปแลนด์ 1–0 ฟินแลนด์ คูพีเอส 1–0 0–0
เอฟเซ อูเตร็คต์ เนเธอร์แลนด์ 2–3 บอสเนียและเฮอร์เซโกวีนา ซรินจ์สกี มอสตาร์ 1–1 1–2
(ต่อเวลา)
ปยูนิก อาร์มีเนีย 2–1 เช็กเกีย ยาโบลเนช 2–1 0–0
แลเชีย กดัญสก์ โปแลนด์ 3–5 เดนมาร์ก บรอนด์บี 2–1 1–4
(ต่อเวลา)
เฟเฮอร์วาร์ ฮังการี 1–2 ลีชเทินชไตน์ วาดุซ 1–0 0–2
(ต่อเวลา)
กาบาลา อาเซอร์ไบจาน 0–5 ประเทศจอร์เจีย ดินาโม ทบิลีซี 0–2 0–3
เยนิ มาลัตยาสปอร์ ตุรกี 3–2 สโลวีเนีย โอลิมปิยา ลูบลิยานา 2–2 1–0
ฟลอรา เอสโตเนีย 2–4 เยอรมนี ไอน์ทรัคท์ฟรังค์ฟวร์ท 1–2 1–2
ดอมซาเล สโลวีเนีย 4–5 สวีเดน มัลเมอ เอฟเอฟ 2–2 2–3
โมลด์ นอร์เวย์ 3–1 เซอร์เบีย คูคาริคกิ 0–0 3–1
ชิคูรา ซัชเคเร ประเทศจอร์เจีย 1–6[A] สกอตแลนด์ อาเบอร์ดีน 1–1 0–5
เคเอเอ เกนต์ เบลเยียม 7–5 โรมาเนีย วีตอรุล คอนสแตนตา 6–3 1–2
บูดุคนอสต์ พอดกอริซา มอนเตเนโกร 1–4 ยูเครน ซอร์ยา ลูแฮนสค์ 1–3 0–1
ซีเอสเคเอ โซเฟีย บัลแกเรีย 1–1 (4–3 ) โครเอเชีย โอซิเยค 1–0 0–1
(ต่อเวลา)
โตรีโน อิตาลี 7–1 ฮังการี เดเบรเซน 3–0 4–1
ลูเซิร์น สวิตเซอร์แลนด์ 2–0 หมู่เกาะแฟโร เคไอ คลาคส์วิค 1–0 1–0
เรนเจอส์ สกอตแลนด์ 2–0 ลักเซมเบิร์ก พรอเกรส ไนเดอร์คอร์น 2–0 0–0
เวนท์สปิลส์ ลัตเวีย 6–2 มอลตา กซิรา ยูไนเต็ด 4–0 2–2
สทราชบูร์ ฝรั่งเศส 4–3 อิสราเอล มัคคาบี ไฮฟา 3–1 1–2
มลาดา บอเลสลาฟ เช็กเกีย 4–3 คาซัคสถาน ออร์ดาบาซี 1–1 3–2
แชมร็อก โรเวอส์ สาธารณรัฐไอร์แลนด์ 3–4 ไซปรัส อาพอลลอน ลิมาสซอล 2–1 1–3
(ต่อเวลา)
อาแซด เนเธอร์แลนด์ 3–0 สวีเดน บีเค ฮัคเคน 0–0 3–0
อาลาชเคิร์ต อาร์มีเนีย 3–5 โรมาเนีย เอฟซีเอสบี 0–3 3–2
โลโคโมทิฟ พลอฟดิฟ บัลแกเรีย 3–3 () สโลวาเกีย สปาร์ตัก เตอร์นาวา 2–0 1–3
วุลเวอร์แฮมป์ตัน วอนเดอเรอส์ อังกฤษ 6–1 ไอร์แลนด์เหนือ ครูซาเดอร์ส 2–0 4–1
อาริส กรีซ 1–0 ไซปรัส เออีแอล ลิมาสซอล 0–0 1–0
เจอูเนสเซ เอสช์ ลักเซมเบิร์ก 0–5 โปรตุเกส วิตอเรีย เด กิมาไรส์ 0–1 0–4
ฮอนเวด ฮังการี 0–0 (1–3 ) โรมาเนีย ยูนิเวร์ซิตาเตีย ไครโอวา 0–0 0–0
(ต่อเวลา)
ชัคห์ตียอร์ ซอลีกอร์สค์ เบลารุส 2–0 เดนมาร์ก เอสเบิร์ก 2–0 0–0
คอนนาห์ส ควูไอย์ โนแมดส์ เวลส์ 0–4 เซอร์เบีย ปาร์ตีซาน 0–1 0–3

หมายเหตุ

  1. Order of legs reversed after original draw.

เส้นทางแชมเปียนส์

[แก้]

เส้นทางหลัก

[แก้]

รอบคัดเลือกรอบสาม

[แก้]

การจับสลากสำหรับรอบคัดเลือกรอบสามได้จัดขึ้นเมื่อวันที่ 22 กรกฎาคม พ.ศ. 2562, 12:25 (เส้นทางแชมเปียนส์) และ 14:00 (เส้นทางหลัก) CEST.[9]

การจัดอันดับทีมวาง

[แก้]

ทั้งหมด 20 ทีมได้มีส่วนร่วมในการจับสลากรอบคัดเลือกรอบสามเส้นทางแชมเปียนส์:

  • ทีมวาง: 10 ผู้แพ้ของแชมเปียนส์ลีกรอบคัดเลือกรอบสองเส้นทางแชมเปียนส์
  • ไม่ได้เป็นทีมวาง: ผู้แพ้ของแชมเปียนส์ลีกรอบคัดเลือกรอบแรกซึ่งได้รับสิทธิ์บาย, และ 9 ผู้ชนะของยูโรปารอบคัดเลือกรอบสองเส้นทางแชมเปียนส์

พวกเขาได้ถูกแบ่งออกอยู่ในสองกลุ่มที่มีสิบทีม, ในขณะที่ห้าทีมเป็นทีมวางและห้าทีมไม่ได้เป็นทีมวาง

เส้นทางแชมเปียนส์
กลุ่ม 1 กลุ่ม 2
ทีมวาง ไม่ได้เป็นทีมวาง ทีมวาง ไม่ได้เป็นทีมวาง
หมายเหตุ
  1. Loser of the Champions League first qualifying round which received a bye.

ทั้งหมด 52 ทีมได้มีส่วนร่วมในการจับสลากรอบคัดเลือกรอบสามเส้นทางหลัก: 13 ทีมที่เข้าสู่ในรอบนี้, the 37 winners of the second qualifying round Main Path, and the two Champions League losers of the second qualifying round League Path. They were divided into five groups: four groups of ten teams, where five teams were seeded and five teams were unseeded; and one group of twelve teams, where six teams were seeded and six teams were unseeded. Numbers were pre-assigned for each team by UEFA, with the draw held in two runs, one for Groups 1–4 with ten teams and one for Group 5 with twelve teams.

เส้นทางหลัก
กลุ่ม 1 กลุ่ม 2 กลุ่ม 3
ทีมวาง ไม่ได้เป็นทีมวาง ทีมวาง ไม่ได้เป็นทีมวาง ทีมวาง ไม่ได้เป็นทีมวาง
กลุ่ม 4 กลุ่ม 5
ทีมวาง ไม่ได้เป็นทีมวาง ทีมวาง ไม่ได้เป็นทีมวาง
หมายเหตุ
  1. Winners of the second qualifying round. Teams in italics defeated a team with a higher coefficient, thus effectively taking the coefficient of their opponent in the draw.
  2. CL Losers of the Champions League second qualifying round. Teams in italics lost to a team with a higher coefficient, thus effectively taking the coefficient of their opponent in the draw.

สรุปผลการแข่งขัน

[แก้]

นัดแรกจะลงเล่นในวันที่ 6, 7 และ 8 สิงหาคม, และนัดที่สองในวันที่ 13, 14 และ 15 สิงหาคม พ.ศ. 2562.

ทีมแรก   ผล   ทีมที่สอง   นัดแรก     นัดที่สอง  
เส้นทางแชมเปียนส์
ซุตเยสกา นิคชิช มอนเตเนโกร 3–5 ไอร์แลนด์เหนือ ลินฟีลด์ 1–2 2–3
มัคคาบี เทล อาวีฟ อิสราเอล 2–4 ลิทัวเนีย ซูดูวา 1–2 1–2
อารารัต-อาร์เมเนีย อาร์มีเนีย 3–2 ประเทศจอร์เจีย ซาบูร์ตาโล ทบิลีซี 1–2 2–0
ริกา ลัตเวีย 3–3 () ฟินแลนด์ เอชเจเค 1–1 2–2
ลูโดโกเรตส์ รัซกราด บัลแกเรีย 9–0 เวลส์ เดอะนิวเซนส์ 5–0 4–0
ซาราเยโว บอสเนียและเฮอร์เซโกวีนา 1–2 เบลารุส บาแตบารือเซา 1–2 0–0
เอฟ91 ดูเดแลงก์ ลักเซมเบิร์ก 4–1 เอสโตเนีย นูมเมคาลยู 3–1 1–0
อัสตานา คาซัคสถาน 9–1 มอลตา วัลเล็ตตา 5–1 4–0
เชริฟฟ์ ตีรัสปอล มอลโดวา 2–3 สวีเดน อาอีคอ 1–2 1–1
สโลวาน บราติสลาวา สโลวาเกีย 4–1 สาธารณรัฐไอร์แลนด์ ดันดอล์ก 1–0 3–1
ทีมแรก   ผล   ทีมที่สอง   นัดแรก     นัดที่สอง  
เส้นทางหลัก
ไอเอฟเค นอร์โคปิง สวีเดน 2–4 อิสราเอล ฮาโปเอล เบียร์ เชวา 1–1 1–3
โตรีโน อิตาลี 6–1 เบลารุส ชัคห์ตียอร์ ซอลีกอร์สค์ 5–0 1–1
อันท์เวิร์ป เบลเยียม 2–2 () เช็กเกีย วิกตอเรีย เปิลเซน 1–0 1–2
(ต่อเวลา)
ออสเตรีย เวียน ออสเตรีย 2–5 ไซปรัส อาพอลลอน ลิมาสซอล 1–2 1–3
ไฟเยอโนร์ด เนเธอร์แลนด์ 5–1 ประเทศจอร์เจีย ดินาโม ทบิลีซี 4–0 1–1
บรอนด์บี เดนมาร์ก 3–7 โปรตุเกส บรากา 2–4 1–3
โมลด์ นอร์เวย์ 4–3 กรีซ อาริส 3–0 1–3
(ต่อเวลา)
โลโคโมทิฟ พลอฟดิฟ บัลแกเรีย 0–2 ฝรั่งเศส สทราชบูร์ 0–1 0–1
ธูน สวิตเซอร์แลนด์ 3–5 รัสเซีย สปาร์ตัค มอสโก 2–3 1–2
เอฟซีเอสบี โรมาเนีย 1–0 เช็กเกีย มลาดา บอเลสลาฟ 0–0 1–0
ปยูนิค อาร์มีเนีย 0–8 อังกฤษ วุลเวอร์แฮมป์ตัน วอนเดอเรอส์ 0–4 0–4
มิดทิลลันด์ เดนมาร์ก 3–7 สกอตแลนด์ เรนเจอส์ 2–4 1–3
มาริอูปอล ยูเครน 0–4 เนเธอร์แลนด์ อาแซด 0–0 0–4
เออีเค ลาร์นากา ไซปรัส 1–4 เบลเยียม เคเอเอ เกนต์ 1–1 0–3
แลเกีย วอร์ซอ โปแลนด์ 2–0 กรีซ อาโตรมิตอส 0–0 2–0
เฮาเกซุนด์ นอร์เวย์ 0–1 เนเธอร์แลนด์ เปเอสเฟ ไอนด์โฮเฟิน 0–1 0–0
ริเยกา โครเอเชีย 4–0 สกอตแลนด์ อาเบอร์ดีน 2–0 2–0
เวนท์สปิลส์ ลัตเวีย 0–9 โปรตุเกส วิตอเรีย เด กิมาไรส์ 0–3 0–6
วาดุซ ลีชเทินชไตน์ 0–6 เยอรมนี ไอน์ทรัคท์ ฟรังค์ฟวร์ท 0–5 0–1
ปาร์ตีซาน เซอร์เบีย 3–2 ตุรกี เยนิ มาลัตยาสปอร์ 3–1 0–1
มัลเมอ เอฟเอฟ สวีเดน 3–1 บอสเนียและเฮอร์เซโกวีนา ซรินจ์สกี มอสตาร์ 3–0 0–1
ซีเอสเคเอ โซเฟีย บัลแกเรีย 1–2 ยูเครน ซอร์ยา ลูแฮนสค์ 1–1 0–1
เนฟต์ชี บากู อาเซอร์ไบจาน 3–4 อิสราเอล บีไน เยฮูดา 2–2 1–2
ลูเซิร์น สวิตเซอร์แลนด์ 0–6 สเปน อัสปัญญ็อล 0–3 0–3
สปาร์ตา ปราก เช็กเกีย 3–4 ตุรกี แทรบซอนสปอร์ 2–2 1–2
ยูนิเวร์ซิตาเตีย ไครโอวา โรมาเนีย 1–3 กรีซ อาเอก เอเธนส์ 0–2 1–1

เส้นทางแชมเปียนส์

[แก้]

เส้นทางหลัก

[แก้]

รอบเพลย์ออฟ

[แก้]

การจับสลากสำหรับรอบเพลย์ออฟได้จัดขึ้นเมื่อวันที่ 5 สิงหาคม พ.ศ. 2562, 13:30 CEST.[10]

การจัดอันดับทีมวาง

[แก้]

ทั้งหมด 16 ทีมได้มีส่วนร่วมในการจับสลากรอบเพลย์ออฟเส้นทางแชมเปียนส์.

  • ทีมวาง: หกผู้แพ้ของแชมเปียนส์ลีก รอบคัดเลือกรอบสาม เส้นทางแชมเปียนส์
  • ไม่ได้เป็นทีมวาง: 10 ทีมชนะเลิศของยูโรปาลีก รอบคัดเลือกรอบสาม เส้นทางแชมเปียนส์

พวกเขาถูกแบ่งออกเป็นสองกลุ่มที่มีแปดทีม, ในขณะที่สามทีมเป็นทีมที่เป็นทีมวางและห้าทีมเป็นทีมที่ไม่ได้เป็นทีมวาง.

เส้นทางแชมเปียนส์
กลุ่ม 1 กลุ่ม 2
ทีมที่เป็นทีมวาง ทีมที่ไม่ได้เป็นทีมวาง ทีมที่เป็นทีมวาง ทีมที่ไม่ได้เป็นทีมวาง

ทั้งหมด 26 ทีม, ผู้ชนะทั้งหมดของรอบคัดเลือกรอบสามเส้นทางหลัก, มีส่วนร่วมในการจับสลากรอบเพลย์ออฟเส้นทางหลัก. พวกเขาได้ถูกแบ่งออกในสามกลุ่ม: สองกลุ่มที่มีแปดทีม, ในขณะที่สี่ทีมเป็นทีมที่เป็นทีมวางและสี่ทีมเป็นทีมที่ไม่ได้เป็นทีมวาง; และหนึ่งกลุ่มที่มีสิบทีม, ในขณะที่ห้าทีมเป็นทีมที่เป็นทีมวางและห้าทีมเป็นทีมที่ไม่ได้เป็นทีมวาง. Numbers were pre-assigned for each team by UEFA, with the draw held in two runs, one for Groups 1–2 with eight teams and one for Group 3 with ten teams.

เส้นทางหลัก
กลุ่ม 1 กลุ่ม 2 กลุ่ม 3
ทีมที่ได้เป็นทีมวาง ทีมที่ไม่ได้เป็นทีมวาง ทีมที่ได้เป็นทีมวาง ทีมที่ไม่ได้เป็นทีมวาง ทีมที่ได้เป็นทีมวาง ทีมที่ไม่ได้เป็นทีมวาง
หมายเหตุ
  1. Winners of the third qualifying round. Teams in italics defeated a team with a higher coefficient, thus effectively taking the coefficient of their opponent in the draw.

สรุปผลการแข่งขัน

[แก้]

นัดแรกจะลงเล่นในวันที่ 22 สิงหาคม, และนัดที่สองในวันที่ 29 สิงหาคม พ.ศ. 2562.

ทีมแรก   ผล   ทีมที่สอง นัดแรก นัดที่สอง
เส้นทางแชมเปียนส์
ซูดูวา ลิทัวเนีย 2–4 ฮังการี เฟเรนส์วาโรช 0–0 2–4
โคเปนเฮเกน เดนมาร์ก 3–2 ลัตเวีย ริกา 3–1 0–1
เซลติก สกอตแลนด์ 6–1 สวีเดน อาอีคอ 2–0 4–1
อารารัต-อาร์เมเนีย อาร์มีเนีย 3–3 (4–5 ) ลักเซมเบิร์ก เอฟ91 ดูเดแลงก์ 2–1 1–2
(ต่อเวลา)
ลูโดโกเรตส์ รัซกราด บัลแกเรีย 2–2 () สโลวีเนีย มารีบอร์ 0–0 2–2
ลินฟีลด์ ไอร์แลนด์เหนือ 4–4 () อาเซอร์ไบจาน คาราบัก 3–2 1–2
สโลวาน บราติสลาวา สโลวาเกีย 3–3 () กรีซ พีเอโอเค 1–0 2–3
อัสตานา คาซัคสถาน 3–2 เบลารุส บาแตบารือเซา 3–0 0–2
ทีมแรก   ผล   ทีมที่สอง   นัดแรก     นัดที่สอง  
เส้นทางหลัก
โตรีโน อิตาลี 3–5 อังกฤษ วุลเวอร์แฮมป์ตัน วอนเดอเรอส์ 2–3 1–2
แลเกีย วอร์ซอ โปแลนด์ 0–1 สกอตแลนด์ เรนเจอส์ 0–0 0–1
เอฟซีเอสบี โรมาเนีย 0–1 โปรตุเกส วิตอเรีย เด กีมาไรช์ 0–0 0–1
เปเอสเฟ ไอนด์โฮเฟิน เนเธอร์แลนด์ 7–0 ไซปรัส อาพอลลอน ลิมาสซอล 3–0 4–0
อาเอก เอเธนส์ กรีซ 3–3 () ตุรกี แทรบซอนสปอร์ 1–3 2–0
ไฟเยอโนร์ด เนเธอร์แลนด์ 6–0 อิสราเอล ฮาโปเอล เบียร์ เชวา 3–0 3–0
เคเอเอ เกนต์ เบลเยียม 3–2 โครเอเชีย ริเยกา 2–1 1–1
อัสปัญญ็อล สเปน 5–3 ยูเครน ซอร์ยา ลูแฮนสค์ 3–1 2–2
ปาร์ตีซาน เซอร์เบีย 3–2 นอร์เวย์ โมลด์ 2–1 1–1
บรากา โปรตุเกส 3–1 รัสเซีย สปาร์ตัค มอสโก 1–0 2–1
มัลเมอ เอฟเอฟ สวีเดน 4–0 อิสราเอล บีไน เยฮูดา 3–0 1–0
สทราชบูร์ ฝรั่งเศส 1–3 เยอรมนี ไอน์ทรัคท์ ฟรังค์ฟวร์ท 1–0 0–3
อาแซด เนเธอร์แลนด์ 5–2 เบลเยียม อันท์เวิร์ป 1–1 4–1
(ต่อเวลา)

เส้นทางแชมเปียนส์

[แก้]

เส้นทางหลัก

[แก้]

อันดับผู้ทำประตูสูงสุด

[แก้]

การแข่งขันทั้งหมดมี 809 ประตูที่ทำได้ใน 293 นัดในรอบคัดเลือกและรอบเพลย์ออฟ, สำหรับค่าเฉลี่ย 2.76 ประตูต่อนัด.[11]

แมตช์ที่ลงเล่นเมื่อวันที่ 22 สิงหาคม ค.ศ. 2019

อันดับ ผู้เล่น ทีม ประตู
1 โครเอเชีย Marin Tomasov คาซัคสถาน อัสตานา 7
โคลอมเบีย Alfredo Morelos สกอตแลนด์ เรนเจอส์
3 อังกฤษ Sam Cosgrove สกอตแลนด์ อาเบอร์ดีน 6
4 อาร์เจนตินา Facundo Ferreyra สเปน อัสปัญญ็อล 5
เม็กซิโก Raúl Jiménez อังกฤษ วุลเวอร์แฮมป์ตัน วอนเดอเรอส์
สวีเดน Markus Rosenberg สวีเดน มัลเมอ เอฟเอฟ
มาซิโดเนียเหนือ Ivan Trichkovski ไซปรัส เออีเค ลาร์นากา
อิตาลี Andrea Belotti อิตาลี โตรีโน
อาร์เจนตินา Emilio Zelaya ไซปรัส อาพอลลอน ลิมาสซอล
10 กานา Caleb Ekuban ตุรกี แทรบซอนสปอร์ 4
สวีเดน Rasmus Bengtsson สวีเดน มัลเมอ เอฟเอฟ
ยูเครน Roman Yaremchuk เบลเยียม เคเอเอ เกนต์
โรมาเนีย Florin Tănase โรมาเนีย เอฟซีเอสบี
ไอซ์แลนด์ Rúnar Már Sigurjónsson คาซัคสถาน อัสตานา

หมายเหตุ: ผู้เล่นที่อยู่ใน ตัวหนา คือยังอยู่ในระบบการแข่งขัน.

อ้างอิง

[แก้]
  1. 1.0 1.1 "2019/20 Europa League match and draw calendar". UEFA.com. 14 January 2019.
  2. "UEFA Europa League qualifying explained". UEFA.com. 25 June 2019.
  3. 3.0 3.1 3.2 3.3 3.4 3.5 3.6 3.7 3.8 "Club coefficients". UEFA.com. Union of European Football Associations. 5 June 2019. สืบค้นเมื่อ 5 June 2019.
  4. 4.0 4.1 "2019/20 UEFA Europa League participants". UEFA.com. 9 July 2019.
  5. "UEFA Europa League preliminary round draw". UEFA.com.
  6. "UEFA Europa League first qualifying round draw". UEFA.com.
  7. "AC Milan banned from Europa League next season over Financial Fair Play breaches". BBC Sport. 28 June 2019. สืบค้นเมื่อ 28 June 2019.
  8. "KV Mechelen replaced in the 2019/20 UEFA Europa League". UEFA. 18 July 2019.
  9. "UEFA Europa League third qualifying round champions and main path draws". UEFA.com.
  10. "UEFA Europa League play-off round draw". UEFA.com. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2019-11-08. สืบค้นเมื่อ 2019-08-29.
  11. "UEFA Europa League in numbers". UEFA.com. Union of European Football Associations. สืบค้นเมื่อ 22 สิงหาคม ค.ศ. 2019. {{cite web}}: ตรวจสอบค่าวันที่ใน: |accessdate= (help)

แหล่งข้อมูลอื่น

[แก้]