ข้ามไปเนื้อหา

บุนเดิสลีกา ฤดูกาล 2014–15

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
บุนเดิสลีกา
ฤดูกาล2014–15
ชนะเลิศบาเยิร์นมิวนิก
แชมป์บุนเดิสลีกาสมัยที่ 24
แชมป์ฟุตบอลลีกเยอรมัน สมัยที่ 25
ตกชั้นไฟรบูร์ก
พาเดอร์บอร์น
ยูฟ่า แชมเปียนส์ ลีกบาเยิร์นมิวนิก
เฟาเอฟเอล ว็อลฟส์บูร์ก
โบรุสซีอาเมินเชินกลัทบัค
ไบเออร์ เลเวอร์คูเซิน
ยูฟ่า ยูโรปา ลีกเอาก์สบูร์ก
ชัลเคอ 04
โบรุสซีอาดอร์ทมุนท์
จำนวนการแข่งขันทั้งหมด306
จำนวนประตูทั้งหมด814 (2.66 ต่อนัด)
ผู้ยิงประตูสูงสุดอเล็กซานเดอร์ ไมเออร์
(19 ประตู)
ทีมเหย้าชนะสูงสุดบาเยิร์นมิวนิก 8–0 ฮัมบวร์ค
(14 กุมภาพันธ์ 2015)
ทีมเยือนชนะสูงสุดพาเดอร์บอร์น 0–6
บาเยิร์นมิวนิก
(21 กุมภาพันธ์ 2015)
ประตูสูงสุดไอน์ทรัคท์ แฟรงก์เฟิร์ต 4–5
วีเอฟเบ ชตุทท์การ์ท
(25 ตุลาคม 2014)
ไบเออร์ เลเวอร์คูเซิน 4–5
เฟาเอฟเอล ว็อลฟส์บูร์ก
(14 กุมภาพันธ์ 2015)
สถิติชนะติดต่อกันสูงสุด8 นัด[1]
บาเยิร์นมิวนิก
สถิติไม่แพ้ติดต่อกันสูงสุด17 นัด[1]
บาเยิร์นมิวนิก
สถิติไม่ชนะติดต่อกันสูงสุด16 นัด[1]
ฮันโนเฟอร์ 96
สถิติแพ้ติดต่อกันสูงสุด5 นัด[1]
โบรุสซีอาดอร์ทมุนท์
ฮัมบวร์ค
ผู้เข้าชมมากที่สุด80,667 คน[1]
โบรุสซีอาดอร์ทมุนท์ 0–2
ไบเออร์ เลเวอร์คูเซิน
(23 สิงหาคม 2014)
ผู้เข้าชมน้อยที่สุด14,401 คน[1]
พาเดอร์บอร์น 0–0
1899 ฮอฟเฟนไฮม์
(21 มีนาคม 2015)
ผู้เข้าชมโดยเฉลี่ย43,527 คน[1]

การแข่งขันฟุตบอล บุนเดิสลีกา ฤดูกาล 2014–15 เป็นฤดูกาลที่ 52 ของ บุนเดิสลีกา, ฟุตบอลลีกชั้นนำของเยอรมนี. เริ่มแข่งขันตั้งแต่วันที่ 22 สิงหาคม พ.ศ. 2557 และนัดสุดท้ายของฤดูกาลมีกำหนดขึ้นในวันที่ 23 พฤษภาคม พ.ศ. 2558. บาเยิร์นมิวนิก ชนะเลิศคว้าแชมป์บุนเดิสลีกาสมัยที่ 25 ในวันที่ 26 เมษายน พ.ศ. 2558.[2]

ทีม

[แก้]
ทีมในฤดูกาล 2014–15

สนามและสถานที่ตั้งของแต่ละทีม

[แก้]
ทีม เมือง สนาม ความจุ[3]
เอาก์สบูร์ก เอาก์สบูร์ก เอสจีอีล อารีนา 30,660
ไบเออร์ เลเวอร์คูเซิน เลเวอร์คูเซิน ไบย์อารีนา 30,210
บาเยิร์นมิวนิก มิวนิก อาลิอันซ์อารีนา 71,000
โบรุสซีอาดอร์ทมุนท์ ดอร์ทมุนท์ ซิกนัด อิดูนา ปาร์ค 80,645
โบรุสซีอาเมินเชินกลัทบัค เมินเชนกลัดบัค โบรุสเซีย-พาร์ค 54,010
ไอน์ทรัคท์ แฟรงก์เฟิร์ต แฟรงก์เฟิร์ต คอมเมอร์สแบงก์ อารีนา 51,500
ไฟรบูร์ก ไฟรบูร์ก เมต ซอลา สเตดีชัน 24,000
ฮัมบวร์ค ฮัมบวร์ค อิมเทช อารีนา 57,000
ฮันโนเฟอร์ 96 ฮันโนเฟอร์ เอดับเบิ้ลเด อารีนา 49,000
แฮร์ทา เบอร์ลิน เบอร์ลิน โอลิมเปียชตาดิออนเบอร์ลิน 74,244
ฮอฟเฟนไฮม์ ชินเชไฮม์ รีอิน-เนคกา-อารีนา 30,150
โคโลญ โคโลญจน์ รีอินอีเนอร์กีสตาดีโอน 50,000
ไมนทซ์ 05 ไมนทซ์ โคฟาเช อารีนา 34,000
พาเดอร์บอร์น พาเดอร์บอร์น เบนเตเลอร์ อารีนา 15,000
ชัลเคอ 04 เกลเซนเคียร์เชิน เฟลทินส์อาเรนา 61,973
ชตุทท์การ์ท ชตุทท์การ์ท เมอร์คีเดส-เบนซ์ อารีนา 60,441
แวร์เดอร์ เบรเมิน เบรเมิน เวเซอร์สตาดิโอน 42,100
ว็อลฟส์บูร์ก ว็อล์ฟส์บูร์ก โวล์ฟสวาเก้น อารีนา 30,000

ชุดแข่งขันและผู้สนับสนุนของแต่ละทีม

[แก้]
ทีม ผู้จัดการทีม กัปตันทีม ผู้ผลิตเสื้อ สปอนเซอร์เสื้อ
เอาก์สบูร์ก เยอรมนี วีอินซีเอีร์ล, มาร์คุสมาร์คุส วีอินซีเอีร์ล เนเธอร์แลนด์ แฟร์ฮาเอจช์, พอลพอล แฟร์ฮาเอจช์ ไนกี้ อัล-โก
ไบเออร์ เลเวอร์คูเซิน เยอรมนี โรเจอร์ ชมิดต์ เยอรมนี โรลเฟส, ไซมอนไซมอน โรลเฟส อาดิดาส แอลจี
บาเยิร์นมิวนิก สเปน กวาร์ดิออลา, แป็ปแป็ป กวาร์ดิออลา เยอรมนี ลาห์ม, ฟิลิปป์ฟิลิปป์ ลาห์ม อาดิดาส ที-โมบายล์
โบรุสซีอาดอร์ทมุนท์ เยอรมนี คลอพพ์, เยือร์เกินเยือร์เกิน คลอพพ์ เยอรมนี ฮุมเมิลส์, มัทส์มัทส์ ฮุมเมิลส์ พูมา อีโวนิก
โบรุสซีอาเมินเชินกลัทบัค สวิตเซอร์แลนด์ ฟาฟร์, ลูเชียนลูเชียน ฟาฟร์ เบลเยียม เดมส์, ฟีลิปฟีลิป เดมส์ คัปป้า โพสต์แบงก์
ไอน์ทรัคท์ แฟรงก์เฟิร์ต เยอรมนี ชาฟ, โทมัสโทมัส ชาฟ เยอรมนี ทราปป์, เกวินเกวิน ทราปป์ ไนกี้ อัลฟา โรเมโอ[4]
ไฟรบูร์ก เยอรมนี สเตรช, คริสเตียนคริสเตียน สเตรช เยอรมนี ชูสเตอร์, ยูเลียนยูเลียน ชูสเตอร์ ไนกี้ อีหร์มันน์
ฮัมบวร์ค เอสวี เยอรมนี ลาบบาเดีย, บรูโนบรูโน ลาบบาเดีย เนเธอร์แลนด์ ฟาน เดอร์ ฟาร์ท, ราฟาเอลราฟาเอล ฟาน เดอร์ ฟาร์ท อาดิดาส เอมิเรตส์
ฮันโนเฟอร์ 96 เยอรมนี ฟรอนต์เซ็ค, มิชาเอลมิชาเอล ฟรอนต์เซ็ค เยอรมนี สตินเดิล, ลาร์สลาร์ส สตินเดิล จาโก ไฮนซ์ ฟอน เฮเดน
แฮร์ทา เบอร์ลิน ฮังการี ดาร์ได, ปาลปาล ดาร์ได สวิตเซอร์แลนด์ ลุสเทนแบร์เกอร์, ฟาเบียนฟาเบียน ลุสเทนแบร์เกอร์ ไนกี้ ดอยท์ช บาห์น
ทีเอสซี 1899 ฮอฟเฟนไฮม์ เยอรมนี กิสดอล, มาร์คุสมาร์คุส กิสดอล เยอรมนี เบ็ค, อันเดรียสอันเดรียส เบ็ค ล็อตโต้ เอสเอพี
โคโลญ ออสเตรีย สโตเกอร์, ปีเตอร์ปีเตอร์ สโตเกอร์ สโลวีเนีย เบรกโก, มีโซมีโซ เบรกโก อีริมา อาร์อีดับเบิลยูอี
ไมนทซ์ 05 สวิตเซอร์แลนด์ ชมิดต์, มาร์ตินมาร์ติน ชมิดต์ มาซิโดเนียเหนือ โนเวสกี, นิโคลเชนิโคลเช โนเวสกี ไนกี้ เอ็นเตกา
พาเดอร์บอร์น เยอรมนี ไบรเทนไรเตอร์, อันเดรอันเดร ไบรเทนไรเตอร์ เยอรมนี ฮูเนไมเออร์, อูเวอูเว ฮูเนไมเออร์ ซาลเลอร์ เคเอฟแซดไตเล24
ชัลเคอ 04 อิตาลี ดี มัตเตโอ, โรแบร์โตโรแบร์โต ดี มัตเตโอ เยอรมนี โฮเวเดส, เบเนดิคท์เบเนดิคท์ โฮเวเดส อาดิดาส กาซพรอม
วีเอฟเบ ชตุทท์การ์ท เนเธอร์แลนด์ สตีเวนส์, ฮูบฮูบ สตีเวนส์ เยอรมนี เกนท์เนอร์, คริสเตียนคริสเตียน เกนท์เนอร์ พูมา ธนาคารเมอร์เซเดส-เบนซ์
แวร์เดอร์ เบรเมิน ยูเครน สครีปนีก, วิกเตอร์วิกเตอร์ สครีปนีก เยอรมนี ฟริตซ์, เคลเมนส์เคลเมนส์ ฟริตซ์ ไนกี้ วีเซนฮอฟ
เฟาเอฟเอล ว็อลฟส์บูร์ก เยอรมนี เฮคกิง, ดีเทอร์ดีเทอร์ เฮคกิง สวิตเซอร์แลนด์ เบนาโย, ดีเอโกดีเอโก เบนาโย คัปป้า โฟกส์วาเกน

เปลี่ยนผู้จัดการทีม

[แก้]
ทีม ผู้จัดการทีมคนก่อน เหตุที่ออก วันที่ออก อันดับในตารางคะแนน ผู้จัดการทีมคนใหม่ วันที่ได้รับการแต่งตั้ง อ้างอิง
ไอน์ทรัคท์ แฟรงก์เฟิร์ต เยอรมนี อาร์มิน เฟห์ หมดสัญญา 30 มิถุนายน 20141 ก่อนเริ่มฤดูกาล เยอรมนี โทมัส ชาฟ 21 พฤษภาคม 2014 [5][6]
ไมนทซ์ 05 เยอรมนี โทมัส ทูเชล ก้าวลงจากตำแหน่ง 11 พฤษภาคม 2014 เดนมาร์ก แคสเปอร์ ฮยุลมานด์ 15 พฤษภาคม 2014 [7][8]
ไบเออร์ เลเวอร์คูเซิน เยอรมนี ซาสชา เลวานดอฟสกี สิ้นสุดการมอบหมายรักษาการณ์ 30 มิถุนายน 2014 เยอรมนี โรเจอร์ ชมิดต์ 1 กรกฎาคม 20142 [9][10]
วีเอฟเบ ชตุทท์การ์ท เนเธอร์แลนด์ ฮูบ สตีเวนส์ หมดสัญญา 30 มิถุนายน 20143 เยอรมนี อาร์มิน เฟห์ 1 กรกฎาคม 20144 [11][12]
ฮัมบวร์ค เอสวี เยอรมนี มีร์โก สโลมกา ถูกไล่ออก 15 กันยายน 2014 อันดับที่ 18 เยอรมนี โจเซฟ ซินน์เบาเออร์ 16 กันยายน 2014 [13][14]
ชัลเคอ 04 เยอรมนี เยนส์ เคลเลอร์ ถูกไล่ออก 7 ตุลาคม 2014 อันดับที่ 11 อิตาลี โรแบร์โต ดี มัตเตโอ 7 ตุลาคม 2014 [15]
แวร์เดอร์ เบรเมิน เยอรมนี โรบิน ดุทท์ ถูกไล่ออก 25 ตุลาคม 2014 อันดับที่ 18 ยูเครน วิกเตอร์ สครีปนีก 25 ตุลาคม 2014 [16]
วีเอฟเบ ชตุทท์การ์ท เยอรมนี อาร์มิน เฟห์ ลาออก 24 พฤศจิกายน 2014 อันดับที่ 18 เนเธอร์แลนด์ ฮูบ สตีเวนส์ 25 พฤศจิกายน 2014 [17][18]
แฮร์ทา เบอร์ลิน เนเธอร์แลนด์ ยอส ลูฮูไกย์ ถูกไล่ออก 5 กุมภาพันธ์ 2015 อันดับที่ 17 ฮังการี ปาล ดาร์ได 6 กุมภาพันธ์ 2015 [19]
ไมนทซ์ 05 เดนมาร์ก แคสเปอร์ ฮยุลมานด์ ถูกไล่ออก 17 กุมภาพันธ์ 2015 อันดับที่ 14 สวิตเซอร์แลนด์ มาร์ติน ชมิดต์ 17 กุมภาพันธ์ 2015 [20]
ฮัมบวร์ค เอสวี เยอรมนี โจเซฟ ซินน์เบาเออร์ ถูกไล่ออก 22 มีนาคม 2015 อันดับที่ 16 เยอรมนี บรูโน ลาบบาเดีย 15 เมษายน 2015 [21]
ฮันโนเฟอร์ 96 ตุรกี เตย์ฟุน คอร์คุต ถูกไล่ออก 20 เมษายน 2015 อันดับที่ 15 เยอรมนี มิชาเอล ฟรอนต์เซ็ค 20 เมษายน 2015 [22][23]
หมายเหตุ
  1. ประกาศเมื่อวันที่ 3 มีนาคม 2014.
  2. ประกาศเมื่อวันที่ 25 เมษายน 2014.
  3. ประกาศเมื่อวันที่ 10 พฤษภาคม 2014.
  4. ประกาศเมื่อวันที่ 12 พฤษภาคม 2014.

ตารางคะแนน

[แก้]
อันดับ ทีม เล่น ชนะ เสมอ แพ้ ได้ เสีย ต่าง คะแนน การผ่านเข้ารอบหรือการตกชั้น
1 บาเยิร์นมิวนิก (C) 34 25 4 5 80 18 +62 79 แชมเปียนส์ ลีก รอบแบ่งกลุ่ม
2 ว็อลฟส์บูร์ก 34 20 9 5 72 38 +34 69
3 โบรุสซีอาเมินเชินกลัทบัค 34 19 9 6 53 26 +27 66
4 ไบเออร์ เลเวอร์คูเซิน 34 17 10 7 62 37 +25 61 แชมเปียนส์ ลีก รอบเพลย์ออฟ
5 เอาก์สบูร์ก 34 15 4 15 43 43 0 49 ยูโรปา ลีก รอบแบ่งกลุ่ม[a]
6 ชัลเคอ 04 34 13 9 12 42 40 +2 48 ยูโรปา ลีก รอบคัดเลือกรอบสาม[a]
7 โบรุสซีอาดอร์ทมุนท์ 34 13 7 14 47 42 +5 46
8 ฮอฟเฟนไฮม์ 34 12 8 14 49 55 −6 44
9 ไอน์ทรัคท์แฟรงก์เฟิร์ต 34 11 10 13 56 62 −6 43
10 แวร์เดอร์ เบรเมิน 34 11 10 13 50 65 −15 43
11 ไมนทซ์ 05 34 9 13 12 45 47 −2 40
12 โคโลญ 34 9 13 12 34 40 −6 40
13 ฮันโนเฟอร์ 96 34 9 10 15 40 56 −16 37
14 ชตุทท์การ์ท 34 9 9 16 42 60 −18 36
15 แฮร์ทา เบอร์ลิน 34 9 8 17 36 52 −16 35
16 ฮัมบวร์ค เอสวี 34 9 8 17 25 50 −25 35 เพลย์ออฟ เลื่อนชั้น-ตกชั้น
17 เอสเซ ไฟรบูร์ก (R) 34 7 13 14 36 47 −11 34 ตกชั้นสู่ ซไวเทอบุนเดิสลีกา
18 พาเดอร์บอร์น (R) 34 7 10 17 31 65 −34 31
แหล่งข้อมูล: Bundesliga
กฏการจัดอันดับ: 1) คะแนน; 2) ผลต่างประตู; 3) ประตูรวม
(C) ชนะเลิศ; (R) ตกชั้น
Notes:
  1. 1.0 1.1 ทั้ง ชัลเคอ 04 หรือ โบรุสซีอาดอร์ทมุนท์ ได้ผ่านเข้ารอบแบ่งกลุ่มแทนที่รอบคัดเลือกรอบสาม. ชัลเคอ 04 จะได้ลงเล่นในรอบแบ่งกลุ่มถ้า ว็อลฟส์บูร์ก ชนะ เดเอ็ฟเบโพคาล ฤดูกาล 2014–15. โบรุสซีอาดอร์ทมุนท์จะได้เข้าไปเล่นในรอบแบ่งกลุ่มถ้าชนะเลิศถ้วยใบนี้.

ผลการแข่งขัน

[แก้]
เหย้า \ เยือน1 AUG LEV FCB DOR MGL FRA FRE HAM H96 BSC HOF KÖL MAI PAD S04 STU BRE WOB
เอาก์สบูร์ก 2–2 0–4 2–3 2–1 2–2 2–0 3–1 1–2 1–0 3–1 0–0 0–2 3–0 0–0 2–1 4–2 1–0
ไบเออร์เลเวอร์คูเซิน 1–0 2–0 0–0 1–1 1–1 1–0 4–0 4–0 4–2 2–0 5–1 0–0 2–2 1–0 4–0 3–3 4–5
บาเยิร์นมิวนิก 0–1 1–0 2–1 0–2 3–0 2–0 8–0 4–0 1–0 4–0 4–1 2–0 4–0 1–1 2–0 6–0 2–1
โบรุสซีอาดอร์ทมุนท์ 0–1 0–2 0–1 1–0 2–0 3–1 0–1 0–1 2–0 1–0 0–0 4–2 3–0 3–0 2–2 3–2 2–2
โบรุสซีอาเมินเชินกลัทบัค 1–3 3–0 0–0 3–1 1–3 1–0 1–0 2–0 3–2 3–1 1–0 1–1 2–0 4–1 1–1 4–1 1–0
ไอน์ทรัคท์ฟรังค์ฟวร์ท 0–1 2–1 0–4 2–0 0–0 1–0 2–1 2–2 4–4 3–1 3–2 2–2 4–0 1–0 4–5 5–2 1–1
เอสเซไฟรบวร์ค 2–0 0–0 2–1 0–3 0–0 4–1 0–0 2–2 2–2 1–1 1–0 2–3 1–2 2–0 1–4 0–1 1–2
ฮัมบูร์เกอร์เอสเฟา 3–2 1–0 0–0 0–0 1–1 1–2 1–1 2–1 0–1 1–1 0–2 2–1 0–3 2–0 0–1 2–0 0–2
ฮันโนเฟอร์ 96 2–0 1–3 1–3 2–3 0–3 1–0 2–1 2–0 1–1 1–2 1–0 1–1 1–2 2–1 1–1 1–1 1–3
แฮร์ทาเบเอสเซ 1–0 0–1 0–1 1–0 1–2 0–0 0–2 3–0 0–2 0–5 0–0 1–3 2–0 2–2 3–2 2–2 1–0
1899 ฮ็อฟเฟินไฮม์ 2–0 0–1 0–2 1–1 1–4 3–2 3–3 3–0 4–3 2–1 3–4 2–0 1–0 2–1 2–1 1–2 1–1
1. เอฟเซเคิล์น 1–2 1–1 0–2 2–1 0–0 4–2 0–1 0–0 1–1 1–2 3–2 0–0 0–0 2–0 0–0 1–1 2–2
ไมนทซ์ 05 2–1 2–3 1–2 2–0 2–2 3–1 2–2 1–2 0–0 0–2 0–0 2–0 5–0 2–0 1–1 1–2 1–1
เอสเซพาเดอร์บอร์น 2–1 0–3 0–6 2–2 1–2 3–1 1–1 0–3 2–0 3–1 0–0 0–0 2–2 1–2 1–2 2–2 1–3
ชัลเคอ 04 1–0 0–1 1–1 2–1 1–0 2–2 0–0 0–0 1–0 2–0 3–1 1–2 4–1 1–0 3–2 1–1 3–2
เฟาเอฟเบชตุทท์การ์ท 0–1 3–3 0–2 2–3 0–1 3–1 2–2 2–1 1–0 0–0 0–2 0–2 2–0 0–0 0–4 3–2 0–4
แวร์เดอร์เบรเมิน 3–2 2–1 0–4 2–1 0–2 1–0 1–1 1–0 3–3 2–0 1–1 0–1 0–0 4–0 0–3 2–0 3–5
เฟาเอฟเอลว็อลฟส์บูร์ก 1–0 4–1 4–1 2–1 1–0 2–2 3–0 2–0 2–2 2–1 3–0 2–1 3–0 1–1 1–1 3–1 2–1

อัปเดตล่าสุดวันที่ 23 พฤษภาคม 2015
แหล่งข้อมูล: Bundesliga
1คอลัมน์ด้านซ้ายมือหมายถึงทีมเหย้า
สี: ฟ้า = ทีมเหย้าชนะ; เหลือง = เสมอ; แดง = ทีมเยือนชนะ

เพลย์ออฟเลื่อนชั้น-ตกชั้น

[แก้]

ทีมที่จบฤดูกาลด้วยอันดับที่ 16, จะเผชิญหน้าพบกับทีมอันดับที่ 3 จาก ซไวเทอบุนเดิสลีกา ฤดูกาล 2014–15 สำหรับการเล่นเพลย์ออฟระบบสองนัดเหย้า-เยือน. ผู้ชนะในการแข่งขันแบบรวมผลสองนัดหลังจากนี้ก็จะได้ผ่านไปเล่นฟุตบอลบุนเดิสลีกา ฤดูกาล 2015–16.

นัดแรก

[แก้]

นัดที่สอง

[แก้]

รวมผลสองนัด ฮัมบูร์เกอร์ เอสเฟา ชนะ 3–2 หลังต่อเวลาพิเศษ.

สถิติประจำฤดูกาล

[แก้]

แฮท-ทริคส์

[แก้]
ผู้เล่น สโมสร ในนัดที่พบกับ ผล วันที่
เยอรมนี โทมัส มึลเลอร์ บาเยิร์นมิวนิก ไอน์ทรัคท์แฟรงก์เฟิร์ต 4–0 8 พฤศจิกายน 2014
เนเธอร์แลนด์ กลาส-ยัน ฮึนเตอลาร์ ชัลเคอ 04 ไมนทซ์ 05 4–1 29 พฤศจิกายน 2014
แคเมอรูน เอริก มักซิม ชูโป-โมติง ชัลเคอ 04 วีเอฟเบ ชตุทท์การ์ท 4–0 6 ธันวาคม 2014
เยอรมนี นิลส์ พีเทอร์เซน เอสเซ ไฟรบูร์ก ไอน์ทรัคท์ แฟรงก์เฟิร์ต 4–1 31 มกราคม 2015
เนเธอร์แลนด์ บาส โดสต์4 วีเอฟอัล โวล์ฟสบวร์ก ไบเออร์ เลเวอร์คูเซิน 5–4 14 กุมภาพันธ์ 2015
เกาหลีใต้ ซอน เฮือง-มิน ไบเออร์ เลเวอร์คูเซิน วีเอฟอัล โวล์ฟสบวร์ก 4–5

4 ผู้เล่นที่ทำคนเดียวสี่ประตู

อ้างอิง

[แก้]
  1. 1.0 1.1 1.2 1.3 1.4 1.5 1.6 "2014–15 German Bundesliga statistics". ESPN FC. สืบค้นเมื่อ 4 November 2014.
  2. BBC News, Bayern Munich: Pep Guardiola's side win 25th Bundesliga title
  3. Smentek, Klaus (8 August 2012). "kicker Bundesliga Sonderheft 2012/13". kicker Sportmagazin (ภาษาเยอรมัน). Nuremberg: Olympia Verlag. ISSN 0948-7964.
  4. "Fiat Group neuer Hauptsponsor von Eintracht Frankfurt" (ภาษาเยอรมัน). Eintracht Frankfurt. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2013-10-22. สืบค้นเมื่อ 21 April 2013.
  5. Weitbrecht, Ralf (3 March 2014). "Trainer Armin Veh verlässt Eintracht Frankfurt". Frankfurter Allgemeine Zeitung (ภาษาเยอรมัน). สืบค้นเมื่อ 22 May 2014.
  6. Marwedel, Jörg (21 May 2014). "Der ewige Bremer wird Frankfurter". Süddeutsche Zeitung (ภาษาเยอรมัน). สืบค้นเมื่อ 22 May 2014.
  7. "Hjulmand übernimmt Tuchels Job". Süddeutsche Zeitung (ภาษาเยอรมัน). 16 May 2014. สืบค้นเมื่อ 22 May 2014.
  8. "Mainz-Manager Heidel: Trainer Tuchel will zurücktreten". Süddeutsche Zeitung (ภาษาเยอรมัน). Deutsche Presse-Agentur. 10 May 2014. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2014-05-12. สืบค้นเมื่อ 22 May 2014.
  9. "Leverkusen trennt sich von Trainer Hyypiä". Süddeutsche Zeitung (ภาษาเยอรมัน). 5 April 2014. สืบค้นเมื่อ 5 April 2014.
  10. "Bayer Leverkusen name Roger Schmidt as Sami Hyypia replacement". BBC Sports. 25 April 2014. สืบค้นเมื่อ 27 April 2014.
  11. "Rückkehr zum VfB perfekt: Veh übernimmt bis 2016!" (ภาษาเยอรมัน). kicker. 12 May 2014. สืบค้นเมื่อ 22 May 2014.
  12. Plavec, Jan Georg (10 May 2014). "Huub Stevens verlässt den VfB". Suttgarter Zeitung (ภาษาเยอรมัน). สืบค้นเมื่อ 22 May 2014.
  13. "Der Hamburger SV trennt sich von Mirko Slomka". bundesliga.de (ภาษาเยอรมัน). 15 September 2014. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2014-09-16. สืบค้นเมื่อ 15 September 2014.
  14. "HSV macht Zinnbauer gleich zum Cheftrainer" (ภาษาเยอรมัน). kicker. 16 September 2014. สืบค้นเมื่อ 16 September 2014.
  15. "Schalke trennt sich von Keller - di Matteo übernimmt". bundesliga.de (ภาษาเยอรมัน). 7 October 2014. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2014-10-10. สืบค้นเมื่อ 7 October 2014.
  16. "Viktor Skripnik übernimmt – Robin Dutt freigestellt". bundesliga.de (ภาษาเยอรมัน). 25 October 2014. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2014-10-25. สืบค้นเมื่อ 25 October 2014.
  17. "Nach Veh-Rücktritt: Viele Baustellen in Stuttgart". bundesliga.de (ภาษาเยอรมัน). 24 November 2014. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2014-11-27. สืบค้นเมื่อ 24 November 2014.
  18. "Stevens: "Ich freue mich auf die Herausforderung"". bundesliga.de (ภาษาเยอรมัน). 25 November 2014. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2014-11-28. สืบค้นเมื่อ 25 November 2014.
  19. "Hertha BSC trennt sich von Trainer Jos Luhukay". bundesliga.de (ภาษาเยอรมัน). 5 February 2015. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2015-02-06. สืบค้นเมื่อ 5 February 2015.
  20. "Mainz trennt sich von Trainer Hjulmand, Schmidt übernimmt". dfb.de (ภาษาเยอรมัน). 17 February 2015. สืบค้นเมื่อ 17 February 2015.
  21. "Bruno Labbadia ist neuer HSV-Trainer". dfb.de (ภาษาเยอรมัน). 15 April 2015. สืบค้นเมื่อ 15 April 2015.
  22. "Hannover beurlaubt Tayfun Korkut". dfb.de (ภาษาเยอรมัน). 20 April 2015. สืบค้นเมื่อ 20 April 2015.
  23. "Frontzeck neuer Trainer bei Hannover 96". dfb.de (ภาษาเยอรมัน). 20 April 2015. สืบค้นเมื่อ 20 April 2015.
  24. "Torjäger" [Goalscorers] (ภาษาเยอรมัน). DFL. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2017-06-06. สืบค้นเมื่อ 2014-12-02.
  25. "Scorer" [Goal + assist] (ภาษาเยอรมัน). DFL. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2017-06-06. สืบค้นเมื่อ 2014-12-02.

แหล่งข้อมูลอื่น

[แก้]