จังหวัดสงขลาในการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป กันยายน พ.ศ. 2535
| |||||||||||||||||||||||||
7 ที่นั่งในสภาผู้แทนราษฎรไทย | |||||||||||||||||||||||||
---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|
ลงทะเบียน | 615,483 | ||||||||||||||||||||||||
ผู้ใช้สิทธิ | 58.30% | ||||||||||||||||||||||||
| |||||||||||||||||||||||||
|
การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดสงขลา กันยายน พ.ศ. 2535 เป็นส่วนหนึ่งของการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป กันยายน พ.ศ. 2535 กำหนดให้มีขึ้นในวันที่ 13 กันยายน พ.ศ. 2535 โดยแบ่งเขตการเลือกตั้งออกเป็น 3 เขตเลือกตั้ง มีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรได้ 7 คน จำนวนที่นั่งเท่าเดิมจากการเลือกตั้งครั้งก่อนเมื่อเดือนมีนาคม พ.ศ. 2535 แต่ละเขตเลือกตั้งจะมีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรได้เขตละ 3 คน (สำหรับเขตเลือกตั้งที่ 1) และ 2 คน (สำหรับเขตเลือกตั้งที่ 2 และ 3)[1]
ภาพรวม
[แก้]ส่วนนี้รอเพิ่มเติมข้อมูล คุณสามารถช่วยเพิ่มข้อมูลส่วนนี้ได้ |
ผลการเลือกตั้งแบบแบ่งเขต
[แก้]สัญลักษณ์และความหมาย | |
* | ส.ส.ระบบเขตเลือกตั้งที่ได้รับเลือกตั้งในการเลือกตั้งครั้งที่ผ่านมา |
** | ส.ส.ระบบบัญชีรายชื่อที่ได้รับเลือกตั้งในการเลือกตั้งครั้งที่ผ่านมา |
† | ผู้สมัครที่ถูกตัดสิทธิ์ |
✔ | ผู้สมัครที่เคยดำรงตำแหน่งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรมาแล้ว |
( ) | หมายเลขประจำตัวของผู้สมัคร |
ตัวหนา | ผู้สมัครที่ชนะการเลือกตั้ง |
เขตเลือกตั้งที่ 1
[แก้]เขตการเลือกตั้งที่ 1 ประกอบด้วยอำเภอเมืองสงขลา, อำเภอรัตภูมิ, อำเภอสทิงพระ, อำเภอระโนด, อำเภอสิงหนคร, อำเภอควนเนียง และกิ่งอำเภอกระแสสินธุ์
ผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร เขต 1 จังหวัดสงขลา | |||||
---|---|---|---|---|---|
พรรค | ผู้สมัคร | คะแนนเสียง | % | ± | |
ประชาธิปัตย์ | วินัย เสนเนียม (8) | 79,153 | |||
ประชาธิปัตย์ | นิพนธ์ บุญญามณี (9)* | 74,073 | |||
ประชาธิปัตย์ | อำนวย สุวรรณคีรี (7)✔ | 61,527 | |||
พลังธรรม | วิชิต สุพัฒนกุล (6) | 44,810 | |||
ความหวังใหม่ | สุรใจ ศิรินุพงศ์ (1)* | 44,414 | |||
พลังธรรม | พิเชฐ พัฒนโชติ (4) | 29,199 | |||
พลังธรรม | ณรงค์ มุสิกพงศ์ (5) | 28,928 | |||
ความหวังใหม่ | นฤชาติ บุญสุวรรณ (3)✔ | 18,201 | |||
ความหวังใหม่ | พลตำรวจโท วิศิษฎ์ สังคหะพงศ์ (2) | 18,058 | |||
เอกภาพ | อับดุลซอมะ ทุยเลาะ (10) | 322 | |||
เอกภาพ | ส่อแล๊ะ เลาะเส็น (11) | 180 | |||
เอกภาพ | อับดุลคอเด มีศรี (12) | 131 | |||
บัตรดี | – | ||||
ไม่ประสงค์ลงคะแนน | – | ||||
บัตรเสีย | – | ||||
ผู้มาใช้สิทธิเลือกตั้ง | – | ||||
ผู้มีสิทธิเลือกตั้ง | — | ||||
ประชาธิปัตย์ ได้ที่นั่งจาก ความหวังใหม่ | |||||
ประชาธิปัตย์ รักษาที่นั่ง | |||||
ประชาธิปัตย์ ได้ที่นั่งจาก ชาติไทย |
เขตเลือกตั้งที่ 2
[แก้]เขตการเลือกตั้งที่ 2 ประกอบด้วยอำเภอหาดใหญ่, กิ่งอำเภอนาหม่อม, กิ่งอำเภอบางกล่ำ และกิ่งอำเภอคลองหอยโข่ง
ผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร เขต 2 จังหวัดสงขลา | |||||
---|---|---|---|---|---|
พรรค | ผู้สมัคร | คะแนนเสียง | % | ± | |
ประชาธิปัตย์ | ไสว พัฒโน (7)* | 61,975 | |||
ประชาธิปัตย์ | ลาภศักดิ์ ลาภาโรจน์กิจ (8) | 46,861 | |||
พลังธรรม | สมพงษ์ สระกวี (1) | 29,056 | |||
ความหวังใหม่ | พันเอก สุชาติ จันทรโชติกุล (5)* | 22,497 | |||
พลังธรรม | บวรรัตน์ สุนทรเจริญนนท์ (2) | 19,700 | |||
ชาติพัฒนา (พ.ศ. 2535) | จ่าสิบตรี อนันต์ เรืองกูล (3)✔ | 8,666 | |||
ความหวังใหม่ | ชูชาติ อินทฤทธิ์ (6) | 5,719 | |||
ชาติพัฒนา (พ.ศ. 2535) | จรัญ สุวรรณะ (4) | 3,427 | |||
เอกภาพ | สะหรี หมานได้เส็น (9) | 392 | |||
เอกภาพ | อับดุลมานัน มีศรี (10) | 109 | |||
บัตรดี | – | ||||
ไม่ประสงค์ลงคะแนน | – | ||||
บัตรเสีย | – | ||||
ผู้มาใช้สิทธิเลือกตั้ง | – | ||||
ผู้มีสิทธิเลือกตั้ง | — | ||||
ประชาธิปัตย์ รักษาที่นั่ง | |||||
ประชาธิปัตย์ ได้ที่นั่งจาก ความหวังใหม่ |
เขตเลือกตั้งที่ 3
[แก้]เขตการเลือกตั้งที่ 3 ประกอบด้วยอำเภอสะเดา, อำเภอจะนะ, อำเภอนาทวี, อำเภอเทพา และอำเภอสะบ้าย้อย
ผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร เขต 3 จังหวัดสงขลา | |||||
---|---|---|---|---|---|
พรรค | ผู้สมัคร | คะแนนเสียง | % | ± | |
ประชาธิปัตย์ | พันตำรวจโท วิจิตร สุวิทย์ (4) | 58,571 | |||
ประชาธิปัตย์ | ไตรรงค์ สุวรรณคีรี (3)* | 54,883 | |||
ความหวังใหม่ | สะเบต หลีเหร็ม (1)* | 31,598 | |||
ความหวังใหม่ | มนัส อังกาพย์ละออง (2) | 12,858 | |||
พลังธรรม | ธีรยุทธ หงส์บุรินทร์ (7) | 10,155 | |||
พลังธรรม | สนิท ชายะพันธุ์ (8) | 8,994 | |||
ชาติไทย | ประกอบ จินตนา (5) | 4,860 | |||
ชาติไทย | ม่าเลก หมัดอะดัม (6) | 2,124 | |||
เสรีธรรม (พ.ศ. 2535) | ประนม เพ็งทอง (11) | 566 | |||
เอกภาพ | อารงค์ เลาะเส็น (9) | 542 | |||
เสรีธรรม (พ.ศ. 2535) | สุวรรณ จันแก้ว (12) | 208 | |||
เอกภาพ | อับดลรอมาน มิสาและ (10) | 134 | |||
บัตรดี | – | ||||
ไม่ประสงค์ลงคะแนน | – | ||||
บัตรเสีย | – | ||||
ผู้มาใช้สิทธิเลือกตั้ง | – | ||||
ผู้มีสิทธิเลือกตั้ง | — | ||||
ประชาธิปัตย์ รักษาที่นั่ง | |||||
ประชาธิปัตย์ ได้ที่นั่งจาก ความหวังใหม่ |
ดูเพิ่ม
[แก้]- จังหวัดสงขลาในการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป มีนาคม พ.ศ. 2535
- จังหวัดสงขลาในการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2538
อ้างอิง
[แก้]- ↑ ผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร พ.ศ. 2535. กรมการปกครอง กระทรวงมหาดไทย. 2536