ข้ามไปเนื้อหา

จังหวัดนครราชสีมาในการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2526

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
จังหวัดนครราชสีมาในการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2526

← พ.ศ. 2522 18 เมษายน พ.ศ. 2526 พ.ศ. 2529 →

13 ที่นั่งในสภาผู้แทนราษฎรไทย
ลงทะเบียน946,852
ผู้ใช้สิทธิ51.42%
  First party Second party Third party
 
ประมาณ อดิเรกสาร.jpg
Bhichai Rattakul 2010-04-01.jpg
พล เริงประเสริฐวิทย์.jpg
ผู้นำ ประมาณ อดิเรกสาร พิชัย รัตตกุล พล เริงประเสริฐวิทย์
พรรค ชาติไทย ประชาธิปัตย์ สยามประชาธิปไตย
ที่นั่งก่อนหน้า 5 2 1
ที่นั่งที่ชนะ 8 2 2
ที่นั่งเปลี่ยน เพิ่มขึ้น3 Steady0 เพิ่มขึ้น1

  Fourth party Fifth party Sixth party
 
Krasae Chanawongse.jpg
Kukrit Pramoj 1974 (cropped).jpg
ผู้นำ กระแส ชนะวงศ์ หม่อมราชวงศ์คึกฤทธิ์ ปราโมช
พรรค ไม่สังกัดพรรค พลังใหม่ กิจสังคม
ที่นั่งก่อนหน้า 0 1 3
ที่นั่งที่ชนะ 1 0 0
ที่นั่งเปลี่ยน เพิ่มขึ้น1 ลดลง1 ลดลง3

นายกรัฐมนตรีก่อนการเลือกตั้ง

เปรม ติณสูลานนท์
อิสระ

นายกรัฐมนตรีหลังการเลือกตั้ง

เปรม ติณสูลานนท์
อิสระ

การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดนครราชสีมา พ.ศ. 2526 เป็นส่วนหนึ่งของการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2526 กำหนดให้มีขึ้นในวันที่ 18 เมษายน พ.ศ. 2526 โดยแบ่งเขตการเลือกตั้งออกเป็น 5 เขตเลือกตั้ง มีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรได้ 13 คน จำนวนที่นั่งเพิ่มจากการเลือกตั้งครั้งก่อนเมื่อ พ.ศ. 2522 1 ที่นั่ง แต่ละเขตเลือกตั้งจะมีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรได้เขตละ 3 คน (ยกเว้นเขตเลือกตั้งที่ 4 และ 5 จะมีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรได้ 2 คน)[1]

ภาพรวม

[แก้]

ผลการเลือกตั้งแบบแบ่งเขต

[แก้]

เขต 1เขต 2เขต 3เขต 4เขต 5

สัญลักษณ์และความหมาย
* ส.ส.ระบบเขตเลือกตั้งที่ได้รับเลือกตั้งในการเลือกตั้งครั้งที่ผ่านมา
** ส.ส.ระบบบัญชีรายชื่อที่ได้รับเลือกตั้งในการเลือกตั้งครั้งที่ผ่านมา
ผู้สมัครที่ถูกตัดสิทธิ์
ผู้สมัครที่เคยดำรงตำแหน่งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรมาแล้ว
( ) หมายเลขประจำตัวของผู้สมัคร
ตัวหนา ผู้สมัครที่ชนะการเลือกตั้ง

เขตเลือกตั้งที่ 1

[แก้]

เขตการเลือกตั้งที่ 1 ประกอบด้วยอำเภอเมืองนครราชสีมา, อำเภอสูงเนิน และอำเภอโนนไทย

ผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร เขต 1 จังหวัดนครราชสีมา
พรรค ผู้สมัคร คะแนนเสียง % ±
ชาติไทย พลตรี ชาติชาย ชุณหะวัณ (1)✔ 51,389
ประชาธิปัตย์ เจริญ เปรมฤทัยรัตน์ (4)✔ 33,851
ไม่สังกัดพรรค น่วม เศรษฐจันทร (9) 27,318 ' '
ไม่สังกัดพรรค วิชิต ศุขะวิริยะ (8)* 25,741
ชาติไทย พลโท เยี่ยม อินทรกำแหง (2) 24,385
พลังใหม่ สุเทพ วงศ์กำแหง (5)* 23,382
ชาติไทย มา อินทศร (3) 20,968
ประชากรไทย วิชัย ภู่ประเสริฐ (11) 16,548
ไม่สังกัดพรรค ชวลิต ตันไชย (10) 8,665
ไม่สังกัดพรรค แสวง นันทชัยศรี (12) 5,245
ประชาธิปัตย์ สวัสดิ์ ชาติเมธี (7) 5,166
ประชาธิปัตย์ พลโท เฉลียว ภูรีปติภาน (6) 4,427
บัตรดี
ไม่ประสงค์ลงคะแนน
บัตรเสีย
ผู้มาใช้สิทธิเลือกตั้ง
ผู้มีสิทธิเลือกตั้ง
ชาติไทย รักษาที่นั่ง
ประชาธิปัตย์ รักษาที่นั่ง
ไม่สังกัดพรรค ได้ที่นั่งจาก พลังใหม่

เขตเลือกตั้งที่ 2

[แก้]

เขตการเลือกตั้งที่ 2 ประกอบด้วยอำเภอด่านขุนทด, อำเภอสีคิ้ว, อำเภอปากช่อง, อำเภอปักธงชัย และอำเภอขามทะเลสอ

ผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร เขต 2 จังหวัดนครราชสีมา
พรรค ผู้สมัคร คะแนนเสียง % ±
ประชาธิปัตย์ สมบูรณ์ จีระมะกร (6)* 40,289
สยามประชาธิปไตย ประสาร ด่านกุล (5)* 36,620
ชาติไทย สำรวย เจตนาดี (3) 32,009
ชาติไทย สนั่น พยัคฆกุล (2) 29,610
ชาติไทย จำลอง ครุฑขุนทด (1)* 27,837
ก้าวหน้า (พ.ศ. 2526) ปติ ตันขุนทด (4) 7,996
ประชาธิปัตย์ โอภาส ศรีจันทร์อ่อน (7) 6,718
ประชาธิปัตย์ ทรงศักดิ์ จันทาโลก (12) 5,627
กิจสังคม ไพโรจน์ เพชรมะโนสัจจะ (11) 3,528
สังคมประชาธิปไตย (พ.ศ. 2525) สมจิต ใบสูงเนิน (9) 1,863
สังคมประชาธิปไตย (พ.ศ. 2525) เวทย์ สกุลทองดี (8) 1,120
สังคมประชาธิปไตย (พ.ศ. 2525) เสรี ชึขุนทด (10) 894
บัตรดี
ไม่ประสงค์ลงคะแนน
บัตรเสีย
ผู้มาใช้สิทธิเลือกตั้ง
ผู้มีสิทธิเลือกตั้ง
ประชาธิปัตย์ รักษาที่นั่ง
สยามประชาธิปไตย รักษาที่นั่ง
ชาติไทย รักษาที่นั่ง

เขตเลือกตั้งที่ 3

[แก้]

เขตการเลือกตั้งที่ 3 ประกอบด้วยอำเภอครบุรี, อำเภอโชคชัย, อำเภอโนนสูง, อำเภอจักราช, อำเภอห้วยแถลง และอำเภอเสิงสาง

ผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร เขต 3 จังหวัดนครราชสีมา
พรรค ผู้สมัคร คะแนนเสียง % ±
ชาติไทย เลิศ หงษ์ภักดี (15) 70,434
ชาติไทย สกุล ศรีพรหม (1)* 52,818
สยามประชาธิปไตย ประทีป กรีฑาเวช (6)* 52,347
กิจสังคม ว่าที่ร้อยตรี วิชัย จิตรพิทักษ์เลิศ (8) 46,473
กิจสังคม ไสว อุณาพรหม (9)* 42,736
ชาติไทย ประสาร กาญจนธวัช (2) 13,148
กิจสังคม เถลิงศักดิ์ จุฬารมย์ (7) 6,140
ประชาธิปัตย์ เทียม ค้าเป็น (5) 5,379
ไม่สังกัดพรรค สิบตรี บุญมี พีรพัฒนวงศ์ (14) 4,867
ไม่สังกัดพรรค ถาวร จันทร์แดง (11) 4,401
ก้าวหน้า (พ.ศ. 2526) มนูญ สุวรรณสัมฤทธิ์ (10) 3,854
ประชาธิปัตย์ สง่า ซื่อสัตย์ (4) 3,800
ไม่สังกัดพรรค ไพบูลย์ มัฆวิมาลย์ (13) 3,438
ประชาธิปัตย์ สำเภา พันธนิตย์ (3) 3,339
ไม่สังกัดพรรค ทรงเดช นครชัย (12) 3,024
บัตรดี
ไม่ประสงค์ลงคะแนน
บัตรเสีย
ผู้มาใช้สิทธิเลือกตั้ง
ผู้มีสิทธิเลือกตั้ง
ชาติไทย รักษาที่นั่ง
ชาติไทย รักษาที่นั่ง
สยามประชาธิปไตย ได้ที่นั่งจาก กิจสังคม

เขตเลือกตั้งที่ 4

[แก้]

เขตการเลือกตั้งที่ 4 ประกอบด้วยอำเภอประทาย, อำเภอพิมาย และอำเภอชุมพวง

ผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร เขต 4 จังหวัดนครราชสีมา
พรรค ผู้สมัคร คะแนนเสียง % ±
ชาติไทย กร ทัพพะรังสี (1) 44,565
ชาติไทย ลำพอง พิลาสมบัติ (2) 29,429
กิจสังคม ยศ อินทรโกมาลย์สุต (9)* 23,822
กิจสังคม สุนทร เนื่องนิยม (10) 21,444
สยามประชาธิปไตย ทราย จันทร์สม (3) 10,598
ประชาธิปัตย์ สุรพล ทิพยรักษ์ (7) 7,694
ไม่สังกัดพรรค มานะ รุ่งศุภกฤตานนท์ (5) 7,390
ชาติประชาธิปไตย รันดร ชัยศรี (11) 4,593
สยามประชาธิปไตย พันตำรวจโท วีระ แย้มศรี (4) 4,248
ไม่สังกัดพรรค บุญส่ง มีชัย (13) 3,330
ไม่สังกัดพรรค สมศรี ยอดนครจง (12) 2,921
ไม่สังกัดพรรค ทองสุข สุ่มมาตย์ (6) 960
ไม่สังกัดพรรค พูน ค้าขาย (8) 794
ชาติประชาธิปไตย ผดุง ชินวงศ์ (14) 764
บัตรดี
ไม่ประสงค์ลงคะแนน
บัตรเสีย
ผู้มาใช้สิทธิเลือกตั้ง
ผู้มีสิทธิเลือกตั้ง
ชาติไทย ได้ที่นั่งจาก กิจสังคม
ชาติไทย ได้ที่นั่งจาก กิจสังคม

เขตเลือกตั้งที่ 5

[แก้]

เขตการเลือกตั้งที่ 5 ประกอบด้วยอำเภอบัวใหญ่, อำเภอคง, อำเภอขามสะแกแสง และกิ่งอำเภอบ้านเหลื่อม

ผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร เขต 5 จังหวัดนครราชสีมา
พรรค ผู้สมัคร คะแนนเสียง % ±
ชาติไทย สุขุม เลาวัณย์ศิริ (1)* 34,065
ชาติไทย ประจัญ กล้าผจญ (2)* 25,981
สยามประชาธิปไตย สมส่วน ศรีนอก (3)* 14,315
กิจสังคม ธำรงวิทย์ อุณาพรหม (7) 9,517
ประชากรไทย บพิตร ภักดีณรงค์ (10) 5,114
ไม่สังกัดพรรค ประพัฒน์ จิตราสวัสดิ์ (12) 4,534
ชาติประชาธิปไตย ครรชิต วัฒนเสถียร (8) 4,376
ไม่สังกัดพรรค อุดม ตะนังสูงเนิน (9) 3,369
ประชาธิปัตย์ นวม ลือขุนทด (6) 2,442
ประชาธิปัตย์ วีระพล บุนนาค (5) 2,178
ไม่สังกัดพรรค ยนต์ ชิณวงศ์ (11) 1,198
ประชากรไทย ร้อยตำรวจตรี อำนาจ หาญณรงค์ (4) 890
บัตรดี
ไม่ประสงค์ลงคะแนน
บัตรเสีย
ผู้มาใช้สิทธิเลือกตั้ง
ผู้มีสิทธิเลือกตั้ง
ชาติไทย ชนะที่นั่ง (เขตเลือกตั้งใหม่)
ชาติไทย รักษาที่นั่ง

ดูเพิ่ม

[แก้]

อ้างอิง

[แก้]
  1. รายงานวิจัยการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร พ.ศ. 2526. กรมการปกครอง กระทรวงมหาดไทย. 2526