ระบบประธานาธิบดี
บทความนี้ต้องการการจัดหน้า จัดหมวดหมู่ ใส่ลิงก์ภายใน หรือเก็บกวาดเนื้อหา ให้มีคุณภาพดีขึ้น คุณสามารถปรับปรุงแก้ไขบทความนี้ได้ และนำป้ายออก พิจารณาใช้ป้ายข้อความอื่นเพื่อชี้ชัดข้อบกพร่อง |
บทความนี้ไม่มีการอ้างอิงจากแหล่งที่มาใด |
|
2 บางรัฐอาจมีคนนอกเรียกว่าเป็นรัฐอำนาจนิยม บทความนี้กล่าวถึงระบอบการปกครองโดยนิตินัยเท่านั้น
ส่วนหนึ่งของชุดการเมือง |
ระบอบการปกครอง พื้นฐาน |
---|
รายชื่อระบอบการปกครอง รายชื่อประเทศตามระบอบการปกครอง |
สถานีย่อยการเมือง |
ระบบประธานาธิบดี (อังกฤษ: presidential system) หรือ ระบบบริหารเดี่ยว (single executive system) คือ ระบอบที่ตั้งให้ประมุขแห่งรัฐมีอำนาจสูงสุดอย่างเต็มที่ คณะรัฐบาลอยู่ใต้อำนาจของประมุขแห่งรัฐ (เช่น อำนาจในการแต่งตั้งหรือถอดถอนคณะรัฐบาล) ในรัฐธรรมนูญของบางประเทศ อาจให้มีตำแหน่งนายกรัฐมนตรีควบคู่ไปกับประธานาธิบดีได้ แต่ส่วนมากนายกรัฐมนตรีในระบบประธานาธิบดีจะไม่มีอำนาจเท่ากับในระบอบรัฐสภา ระบบประธานาธิบดีมีต้นกำเนิดในสหรัฐ
ประเทศที่ใช้ระบบประธานาธิบดีได้แก่ สหรัฐ บราซิล เม็กซิโก เป็นต้น
ประวัติของระบบประธานาธิบดี
[แก้]ระบอบประธานาธิบดีนั้นเกิดขึ้นครั้งแรก ณ สหรัฐ ในศตวรรษที่ 18 ช่วงสงครามปฏิวัติอเมริกา โดยมีจอร์จ วอชิงตัน เป็นประธานาธิบดีที่ได้ปลดแอกจากประเทศอังกฤษ คือ ประกาศอิสรภาพจากประเทศอังกฤษไม่เป็นเมืองขึ้นของประเทศอังกฤษต่อไป สหรัฐอเมริกาจึงได้สร้างระบบรัฐบาลขึ้นมาใหม่เพื่อให้มีความแตกต่างไปจากระบบรัฐสภาของประเทศอังกฤษ
รายชื่อประเทศที่ปกครองแบบระบบประธานาธิบดี
[แก้]ระบบประธานาธิบดีโดยไม่มีนายกรัฐมนตรี
[แก้]- อัฟกานิสถาน
- แองโกลา
- อาร์เจนตินา
- เบนิน
- โบลิเวีย
- บราซิล
- บุรุนดี
- ชิลี
- โคลอมเบีย
- คอโมโรส
- คอสตาริกา
- ไซปรัส
- สาธารณรัฐโดมินิกัน
- เอกวาดอร์
- เอลซัลวาดอร์
- แกมเบีย
- กานา
- กัวเตมาลา
- ฮอนดูรัส
- อินโดนีเซีย
- อิหร่าน[1]
- เคนยา
- ไลบีเรีย
- มาลาวี
- มัลดีฟส์
- เม็กซิโก
- นิการากัว
- ไนจีเรีย
- ปาเลา
- ปานามา
- ปารากวัย
- ฟิลิปปินส์
- เซเชลส์
- เซียร์ราลีโอน
- โซมาลีแลนด์
- ซูดานใต้
- ตุรกี
- เติร์กเมนิสถาน
- สหรัฐอเมริกา
- อุรุกวัย
- เวเนซุเอลา
- แซมเบีย
- ซิมบับเว
ระบบประธานาธิบดีโดยมีนายกรัฐมนตรี
[แก้]อ้างอิง
[แก้]- ↑ Iran combines the forms of a presidential republic, with a president elected by universal suffrage, and a theocracy, with a Supreme Leader who is ultimately responsible for state policy, chosen by the elected Assembly of Experts. Candidates for both the Assembly of Experts and the presidency are vetted by the appointed Guardian Council.
- ↑ "Nazarbaev Signs Kazakh Constitutional Amendments Into Law". Radio Free Europe/Radio Liberty. 10 March 2017. สืบค้นเมื่อ 10 March 2017. For more information: please see Abdurasulov, Abdujalil (6 March 2017). "Kazakhstan constitution: Will changes bring democracy?". BBC News. สืบค้นเมื่อ 7 March 2017.