ฟุตบอลทีมชาติโมร็อกโก
บทความนี้ยังต้องการเพิ่มแหล่งอ้างอิงเพื่อพิสูจน์ความถูกต้อง |
ฉายา | أسود الأطلس (Ousud Al-atlas, 'สิงโตแอตลาส') เสือร้ายจากกาฬทวีป (ฉายาในภาษาไทย) | ||
---|---|---|---|
สมาคม | ราชสหพันธ์ฟุตบอลโมร็อกโก (FRMF) | ||
สมาพันธ์ย่อย | UNAF (แอฟริกาเหนือ) | ||
สมาพันธ์ | CAF (แอฟริกา) | ||
หัวหน้าผู้ฝึกสอน | วะลีด อัรร็อกรอกี | ||
กัปตัน | รูมาน ซายิส | ||
ติดทีมชาติสูงสุด | นูรุดดีน เนย์เบ็ต (115)[1] | ||
ทำประตูสูงสุด | อะห์มัด ฟะร็อซ (36)[1] | ||
สนามเหย้า | หลายแห่ง | ||
รหัสฟีฟ่า | MAR | ||
| |||
อันดับฟีฟ่า | |||
อันดับปัจจุบัน | 12 1 (20 มิถุนายน 2024)[2] | ||
อันดับสูงสุด | 10 (เมษายน ค.ศ. 1998) | ||
อันดับต่ำสุด | 95 (กันยายน ค.ศ. 2010) | ||
เกมระดับนานาชาติครั้งแรก | |||
โมร็อกโก 3–3 อิรัก (เบรุต ประเทศเลบานอน; 19 ตุลาคม ค.ศ. 1957) | |||
ชนะสูงสุด | |||
โมร็อกโก 13–1 ซาอุดีอาระเบีย (กาซาบล็องกา, ประเทศโมร็อกโก; 6 กันยายน ค.ศ. 1961) | |||
แพ้สูงสุด | |||
ฮังการี 6–0 โมร็อกโก (โตเกียว ประเทศญี่ปุ่น; 11 ตุลาคม ค.ศ. 1964) | |||
ฟุตบอลโลก | |||
เข้าร่วม | 6 (ครั้งแรกใน 1970) | ||
ผลงานดีที่สุด | อันดับที่ 4 (2022) | ||
แอฟริกาคัพออฟเนชันส์ | |||
เข้าร่วม | 18 (ครั้งแรกใน 1972) | ||
ผลงานดีที่สุด | ชนะเลิศ (1976) | ||
อาหรับคัพ | |||
เข้าร่วม | 4 (ครั้งแรกใน 1998) | ||
ผลงานดีที่สุด | ชนะเลิศ (2012) | ||
African Nations Championship | |||
เข้าร่วม | 4 (ครั้งแรกใน 2014) | ||
ผลงานดีที่สุด | ชนะเลิศ (2018, 2020) | ||
เว็บไซต์ | frmf.ma |
ฟุตบอลทีมชาติโมร็อกโก (อาหรับ: منتخب المغرب لكرة القدم; ฝรั่งเศส: Équipe du Maroc de football) ฉายา "ราชสีห์แห่งแอตลัส" (อาหรับ: أسود الأطلس / Irzem n Atlasi) เป็นทีมฟุตบอลตัวแทนของประเทศโมร็อกโก ปัจจุบันมี วะลีด อัรร็อกรอกี เป็นผู้จัดการทีม
โมร็อกโกเคยชนะเลิศแอฟริกาคัพออฟเนชันส์ในปี 1976 และยังเป็นทีมแรกจากแอฟริกาที่เป็นแชมป์กลุ่มในฟุตบอลโลก ซึ่งเกิดขึ้นในปี 1986 โดยพวกเขาอยู่กลุ่มเดียวกับโปรตุเกส, โปแลนด์ และอังกฤษ และยังเป็นทีมแรกของแอฟริกาที่ผ่านเข้าสู่รอบแพ้คัดออกของรายการ โดยพวกเขาตกรอบแพ้เยอรมนีตะวันตก (รองแชมป์หลังจบการแข่งขัน) 1–0 ในปีเดียวกัน ต่อมาในปี 1998 โมร็อกโกตกรอบแบ่งกลุ่มหลังจากที่นอร์เวย์เอาชนะบราซิล และในปี 2018 โมร็อกโกผ่านรอบคัดเลือกได้ไปแข่งขันฟุตบอลโลกรอบสุดท้ายเป็นครั้งแรกในรอบ 20 ปี แม้ว่าสุดท้ายแล้ว ทีมจะตกรอบแบ่งกลุ่มด้วยการไม่ชนะใครก็ตาม แต่ในฟุตบอลโลก 2022 โมร็อกโกสร้างประวัติศาสตร์เป็นชาติแรกจากแอฟริกาและอาหรับที่สามารถผ่านเข้าถึงรอบรองชนะเลิศได้สำเร็จ[3][4]
สนามแข่งขัน
[แก้]- อดีต
- ปัจจุบัน
- สนามกีฬามาร์ราคิช (มาร์ราคิช)
- สนามกีฬาอัดราร์ (อากาดีร์)
- สนามกีฬาอิบัน บาเทาทา (แทนเจียร์)
- สนามกีฬาแฟ็ส (แฟ็ส)
รายชื่อผู้เล่น
[แก้]รายชื่อผู้เล่น 26 คนที่ถูกเรียกตัวในการแข่งขัน ฟุตบอลโลก 2022
# | ตำแหน่ง | ผู้เล่น | วันเกิด (อายุ) | ลงเล่น | ประตู | สโมสร |
---|---|---|---|---|---|---|
1 | GK | ยาซีน บูนู | 5 เมษายน ค.ศ. 1991 (อายุ 31 ปี) | 46 | 0 | เซบิยา |
2 | DF | อัชร็อฟ ฮะกีมี | 4 พฤศจิกายน ค.ศ. 1998 (อายุ 24 ปี) | 54 | 8 | ปารีแซ็ง-แฌร์แม็ง |
3 | DF | นุศ็อยร์ มัซรอวี | 14 พฤศจิกายน ค.ศ. 1997 (อายุ 25 ปี) | 15 | 2 | ไบเอิร์นมิวนิก |
4 | MF | ซุฟยาน อัมรอบัฏ | 21 สิงหาคม ค.ศ. 1996 (อายุ 26 ปี) | 39 | 0 | ฟีออเรนตีนา |
5 | DF | นายิฟ อะกัรด์ | 30 มีนาคม ค.ศ. 1996 (อายุ 26 ปี) | 22 | 1 | เวสต์แฮมยูไนเต็ด |
6 | DF | รอแม็ง ซาอิส (กัปตัน) | 26 มีนาคม ค.ศ. 1990 (อายุ 32 ปี) | 66 | 1 | เบชิกทัช |
7 | MF | ฮะกีม ซิยาช | 19 มีนาคม ค.ศ. 1993 (อายุ 29 ปี) | 43 | 18 | เชลซี |
8 | MF | อิซซุดดีน อูนาฮี | 19 เมษายน ค.ศ. 2000 (อายุ 22 ปี) | 10 | 2 | อ็องเฌ |
9 | FW | อับดุรร็อซซาก ฮัมดุลลอฮ์ | 17 ธันวาคม ค.ศ. 1990 (อายุ 31 ปี) | 18 | 6 | อัลอิตติฮาด |
10 | MF | อะนัส อัซซะรูรี | 7 พฤศจิกายน ค.ศ. 2000 (อายุ 22 ปี) | 1 | 0 | เบิร์นลีย์ |
11 | FW | อับดุลฮะมีด ศอบีรี | 28 พฤศจิกายน ค.ศ. 1996 (อายุ 25 ปี) | 2 | 1 | ซัมป์โดเรีย |
12 | GK | มุนีร มุฮัมมะดี | 10 พฤษภาคม ค.ศ. 1989 (อายุ 33 ปี) | 43 | 0 | อัลวะห์ดะฮ์ |
13 | MF | อิลยาส ชาอิร | 30 ตุลาคม ค.ศ. 1997 (อายุ 25 ปี) | 11 | 1 | ควีนส์พาร์กเรนเจอส์ |
14 | MF | ซะกะรียา อะบูคลาล | 18 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 2000 (อายุ 22 ปี) | 12 | 2 | ตูลูซ |
15 | MF | ซะลีม อะมัลลาห์ | 15 พฤศจิกายน ค.ศ. 1996 (อายุ 26 ปี) | 24 | 4 | สต็องดาร์ลีแยฌ |
16 | FW | อับเด อัซซัลซูลี | 17 ธันวาคม ค.ศ. 2001 (อายุ 20 ปี) | 2 | 0 | โอซาซูนา |
17 | MF | ซุฟยาน บูฟาล | 17 กันยายน ค.ศ. 1993 (อายุ 29 ปี) | 32 | 6 | อ็องเฌ |
18 | DF | ญะวาด อัลยะมีก | 29 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1992 (อายุ 30 ปี) | 12 | 2 | เรอัลบายาโดลิด |
19 | FW | ยูซุฟ อันนุศ็อยรี | 1 มิถุนายน ค.ศ. 1997 (อายุ 25 ปี) | 50 | 15 | เซบิยา |
20 | DF | อัชร็อฟ ดารี | 6 พฤษภาคม ค.ศ. 1999 (อายุ 23 ปี) | 4 | 0 | แบร็สต์ |
21 | FW | วะลีด ชัดดีเราะฮ์ | 22 มกราคม ค.ศ. 1998 (อายุ 24 ปี) | 2 | 0 | บารี |
22 | GK | อะห์มัด ริฎอ อัตตักนาวุตี | 5 เมษายน ค.ศ. 1996 (อายุ 26 ปี) | 3 | 0 | วิดาด |
23 | MF | บิลาล อัลค็อนนูศ | 10 พฤษภาคม ค.ศ. 2004 (อายุ 18 ปี) | 0 | 0 | แค็งก์ |
24 | DF | บัดร์ บานูน | 30 กันยายน ค.ศ. 1993 (อายุ 29 ปี) | 3 | 0 | กาตาร์ |
25 | DF | ยะห์ยา อะฏียะฮ์ อัลลอฮ์ | 2 มีนาคม ค.ศ. 1995 (อายุ 27 ปี) | 2 | 0 | วิดาด |
26 | MF | ยะห์ยา ญับรอน | 18 มิถุนายน ค.ศ. 1991 (อายุ 31 ปี) | 5 | 0 | วิดาด |
สถิติการแข่งขัน
[แก้]ฟุตบอลโลก
[แก้]สถิติในฟุตบอลโลก | สถิติในฟุตบอลโลกรอบคัดเลือก | |||||||||||||||
---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|
ปี | รอบ | อันดับ | แข่ง | ชนะ | เสมอ | แพ้ | ได้ | เสีย | แข่ง | ชนะ | เสมอ | แพ้ | ได้ | เสีย | ||
1930 | ไม่ได้เข้าร่วม | ไม่ได้เข้าร่วม | ||||||||||||||
1934 | ||||||||||||||||
1938 | ||||||||||||||||
1950 | ||||||||||||||||
1954 | ||||||||||||||||
1958 | ||||||||||||||||
1962 | ไม่ผ่านรอบคัดเลือก | 7 | 2 | 2 | 3 | 7 | 8 | |||||||||
1966 | ถอนตัว | ถอนตัว | ||||||||||||||
1970 | รอบแบ่งกลุ่ม | 14th | 3 | 0 | 1 | 2 | 2 | 6 | 10 | 4 | 4 | 2 | 11 | 7 | ||
1974 | ไม่ผ่านรอบคัดเลือก | 10 | 4 | 3 | 3 | 12 | 13 | |||||||||
1978 | 2 | 0 | 2 | 0 | 2 | 2 | ||||||||||
1982 | 8 | 3 | 2 | 3 | 5 | 6 | ||||||||||
1986 | รอบ 16 ทีมสุดท้าย | 11th | 4 | 1 | 2 | 1 | 3 | 2 | 8 | 5 | 2 | 1 | 12 | 1 | ||
1990 | ไม่ผ่านรอบคัดเลือก | 6 | 1 | 3 | 2 | 4 | 5 | |||||||||
1994 | รอบแบ่งกลุ่ม | 23rd | 3 | 0 | 0 | 3 | 2 | 5 | 10 | 7 | 2 | 1 | 19 | 4 | ||
1998 | รอบแบ่งกลุ่ม | 18th | 3 | 1 | 1 | 1 | 5 | 5 | 6 | 5 | 1 | 0 | 14 | 2 | ||
2002 | ไม่ผ่านรอบคัดเลือก | 10 | 6 | 3 | 1 | 11 | 3 | |||||||||
2006 | 10 | 5 | 5 | 0 | 17 | 7 | ||||||||||
2010 | 10 | 3 | 3 | 4 | 14 | 13 | ||||||||||
2014 | 6 | 2 | 3 | 1 | 9 | 8 | ||||||||||
2018 | รอบแบ่งกลุ่ม | 27th | 3 | 0 | 1 | 2 | 2 | 4 | 8 | 4 | 3 | 1 | 13 | 1 | ||
2022 | อันดับที่ 4 | 4th | 7 | 3 | 2 | 2 | 6 | 5 | 8 | 7 | 1 | 0 | 25 | 3 | ||
ทั้งหมด | อันดับที่ 4 | 6/22 | 23 | 5 | 7 | 11 | 20 | 27 | 119 | 58 | 39 | 22 | 175 | 83 |
แอฟริกาคัพออฟเนชันส์
[แก้]อ้างอิง
[แก้]- ↑ 1.0 1.1 "Morocco – Record International Players". rsssf.com.
- ↑ "The FIFA/Coca-Cola World Ranking". FIFA. 20 มิถุนายน 2024. สืบค้นเมื่อ 20 มิถุนายน 2024.
- ↑ "Morocco 1-0 Portugal: World Cup 2022 quarter-final – live reaction". the Guardian (ภาษาอังกฤษ). 2022-12-10. สืบค้นเมื่อ 2022-12-10.
- ↑ Byrne, Cal (2022-12-10). "Morocco first African to reach World Cup semi-finals". Al Jazeera (ภาษาอังกฤษ). สืบค้นเมื่อ 2022-12-10.
แหล่งข้อมูลอื่น
[แก้]- เว็บไซต์ทางการ (ในภาษาอาหรับ)
- FIFA profile
- RSSSF archive of results