ข้ามไปเนื้อหา

แอฟริกาคัพออฟเนชันส์ 2021

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
แอฟริกาคัพออฟเนชันส์ 2021
Coupe d'Afrique des Nations 2021
รายละเอียดการแข่งขัน
ประเทศเจ้าภาพแคเมอรูน
วันที่9 มกราคม – 6 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 2022[1]
ทีม24 (จาก 1 สมาพันธ์)
สถานที่(ใน 5 เมืองเจ้าภาพ)
อันดับเมื่อสิ้นสุดการแข่งขัน
ชนะเลิศธงชาติเซเนกัล เซเนกัล (สมัยที่ 1)
รองชนะเลิศธงชาติอียิปต์ อียิปต์
อันดับที่ 3ธงชาติแคเมอรูน แคเมอรูน
อันดับที่ 4ธงชาติบูร์กินาฟาโซ บูร์กินาฟาโซ
สถิติการแข่งขัน
จำนวนนัดที่แข่งขัน51
จำนวนประตู100 (1.96 ประตูต่อนัด)
ผู้ทำประตูสูงสุดแคเมอรูน แว็งซ็อง อาบูบาการ์ (8 ประตู)
ผู้เล่นยอดเยี่ยมเซเนกัล ซาดีโย มาเน[2]
ผู้รักษาประตูยอดเยี่ยมเซเนกัล เอดัวร์ แมนดี[3]
ผู้เล่นดาวรุ่งยอดเยี่ยมบูร์กินาฟาโซ Issa Kaboré[4]
รางวัลแฟร์เพลย์ธงชาติเซเนกัล เซเนกัล[2]
2019
2023

แอฟริกาคัพออฟเนชันส์ 2021 (อังกฤษ: 2021 Africa Cup of Nations หรือย่อว่า AFCON 2021 หรือ CAN 2021) หรือรู้จักกันในชื่อ โททัลเอ็นเนร์จีส์ แอฟริกาคัพออฟเนชันส์ 2021 ด้วยเหตุผลด้านการสนับสนุน[5] เป็นการแข่งขันครั้งที่ 33 ของแอฟริกาคัพออฟเนชันส์ การแข่งขันฟุตบอลชายทีมชาติของทวีปแอฟริกา ซึ่งจัดขึ้นทุก ๆ สองปี อยู่ภายใต้การดำเนินงานของสมาพันธ์ฟุตบอลแห่งแอฟริกา (CAF) แคเมอรูนเป็นเจ้าภาพในการแข่งขันครั้งนี้[6] โดยจะเริ่มแข่งขันตั้งแต่วันที่ 9 มกราคม ถึง 6 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 2022[1]

เดิมที การแข่งขันจะดำเนินในช่วงเดือนมิถุนายนถึงกรกฎาคม ค.ศ. 2021 อย่างไรก็ตาม เมื่อวันที่ 15 มกราคม ค.ศ. 2020 ซีเอเอฟได้ประกาศเลื่อนวันที่แข่งขันออกไปเนื่องจากสภาพอากาศที่ไม่เอื้ออำนวยในเดือนนั้น ทำให้การแข่งขันถูกกำหนดใหม่เป็นวันที่ 9 มกราคม ถึง 6 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 2021[7] แต่ในวันที่ 30 มิถุนายน ค.ศ. 2020 ซีเอเอฟประกาศเลื่อนวันแข่งขันอีกครั้งไปเป็นเดือนมกราคม ค.ศ. 2022 เนื่องจากการระบาดทั่วของโควิด-19 แต่การแข่งขันยังคงใช้ชื่อแอฟริกาคัพออฟเนชันส์ 2021 เหมือนเดิมด้วยวัตถุประสงค์ด้านการสนับสนุน[8]

แอลจีเรีย เข้าร่วมแข่งขันในฐานะแชมป์เก่า แต่ในครั้งนี้ พวกเขาตกรอบแบ่งกลุ่ม เจ้าภาพอย่างแคเมอรูน แพ้ในรอบรองชนะเลิศหลังดวลลูกโทษแพ้อียิปต์ สุดท้ายแล้ว พวกเขาคว้าอันดับที่ 3 เซเนกัลชนะเลิศรายการนี้เป็นสมัยแรกหลังจากที่ดวลลูกโทษชนะอียิปต์ในนัดชิงชนะเลิศ

รอบคัดเลือก

[แก้]

ทีมที่ผ่านเข้ารอบ

[แก้]
ทีม วิธีการ
เข้ารอบ
วันที่
เข้ารอบ
ครั้งที่
เข้ารอบ
เข้ารอบ
ครั้งล่าสุด
ผลงานที่ดีที่สุดที่ผ่านมา อันดับโลกฟีฟ่า
ณ วันเริ่มแข่งขัน
ธงชาติแคเมอรูน แคเมอรูน เจ้าภาพ / ชนะเลิศ
กลุ่ม เอฟ
8 มกราคม 2019 20 2019 ชนะเลิศ (1984, 1988, 2000, 2002, 2017) 50
ธงชาติเซเนกัล เซเนกัล ชนะเลิศ กลุ่ม ไอ 15 พฤศจิกายน 2020 16 2019 รองชนะเลิศ (2002, 2019) 20
ธงชาติแอลจีเรีย แอลจีเรีย ชนะเลิศ กลุ่ม เอช 16 พฤศจิกายน 2020 19 2019 ชนะเลิศ (1990, 2019) 29
ธงชาติมาลี มาลี ชนะเลิศ กลุ่ม เอ 17 พฤศจิกายน 2020 12 2019 รองชนะเลิศ (1972) 53
ธงชาติตูนิเซีย ตูนิเซีย ชนะเลิศ กลุ่ม เจ 17 พฤศจิกายน 2020 20 2019 ชนะเลิศ (2004) 30
ธงชาติบูร์กินาฟาโซ บูร์กินาฟาโซ ชนะเลิศ กลุ่ม บี 24 มีนาคม 2021 12 2017 รองชนะเลิศ (2013) 60
ธงชาติกินี กินี รองชนะเลิศ กลุ่ม เอ 24 มีนาคม 2021 13 2019 รองชนะเลิศ (1976) 81
ธงชาติคอโมโรส คอโมโรส รองชนะเลิศ กลุ่ม จี 25 มีนาคม 2021 1 ไม่เคย ครั้งแรก 132
ธงชาติกาบอง กาบอง รองชนะเลิศ กลุ่ม ดี 25 มีนาคม 2021 8 2017 รอบก่อนรองชนะเลิศ (1996, 2012) 89
ธงชาติประเทศแกมเบีย แกมเบีย ชนะเลิศ กลุ่ม ดี 25 มีนาคม 2021 1 ไม่เคย ครั้งแรก 150
ธงชาติอียิปต์ อียิปต์ ชนะเลิศ กลุ่ม จี 25 มีนาคม 2021 25 2019 ชนะเลิศ (1957, 1959, 1986, 1998, 2006, 2008, 2010) 45
ธงชาติกานา กานา ชนะเลิศ กลุ่ม ซี 25 มีนาคม 2021 23 2019 ชนะเลิศ (1963, 1965, 1978, 1982) 52
ธงชาติอิเควทอเรียลกินี อิเควทอเรียลกินี รองชนะเลิศ กลุ่ม เจ 25 มีนาคม 2021 3 2015 อันดับที่ 4 (2015) 114
ธงชาติซิมบับเว ซิมบับเว รองชนะเลิศ กลุ่ม เอช 25 มีนาคม 2021 5 2019 รอบแบ่งกลุ่ม (2004, 2006, 2017, 2019) 121
ธงชาติโกตดิวัวร์ โกตดิวัวร์ ชนะเลิศ กลุ่ม เค 26 มีนาคม 2021 24 2019 ชนะเลิศ (1992, 2015) 56
ธงชาติโมร็อกโก โมร็อกโก ชนะเลิศ กลุ่ม อี 26 มีนาคม 2021 18 2019 ชนะเลิศ (1976) 28
ธงชาติไนจีเรีย ไนจีเรีย ชนะเลิศ กลุ่ม แอล 27 มีนาคม 2021 19 2019 ชนะเลิศ (1980, 1994, 2013) 36
ธงชาติซูดาน ซูดาน รองชนะเลิศ กลุ่ม ซี 28 มีนาคม 2021 9 2012 ชนะเลิศ (1970) 125
ธงชาติมาลาวี มาลาวี รองชนะเลิศ กลุ่ม บี 29 มีนาคม 2021 3 2010 รอบแบ่งกลุ่ม (1984, 2010) 129
ธงชาติเอธิโอเปีย เอธิโอเปีย รองชนะเลิศ กลุ่ม เค 30 มีนาคม 2021 11 2013 ชนะเลิศ (1962) 137
ธงชาติมอริเตเนีย มอริเตเนีย รองชนะเลิศ กลุ่ม อี 30 มีนาคม 2021 2 2019 รอบแบ่งกลุ่ม (2019) 103
ธงชาติกินี-บิสเซา กินี-บิสเซา รองชนะเลิศ กลุ่ม ไอ 30 มีนาคม 2021 3 2019 รอบแบ่งกลุ่ม (2017, 2019) 106
ธงชาติกาบูเวร์ดี กาบูเวร์ดี รองชนะเลิศ กลุ่ม เอฟ 30 มีนาคม 2021 3 2015 รอบก่อนรองชนะเลิศ (2013) 73
ธงชาติเซียร์ราลีโอน เซียร์ราลีโอน รองชนะเลิศ กลุ่ม แอล 15 มิถุนายน 2021 3 1996 รอบแบ่งกลุ่ม (1994, 1996) 108

รูปแบบการแข่งขัน

[แก้]

มีทั้งหมด 24 ทีมที่จะได้เข้าร่วมแข่งขันในรอบสุดท้าย มีเพียงเจ้าภาพเท่านั้นที่ได้สิทธิ์ผ่านเข้าสู่รอบสุดท้ายโดยอัตโนมัติ ในขณะที่ 23 ทีมที่เหลือจะต้องแข่งขันในรอบคัดเลือก ในการแข่งขันรอบสุดท้าย ทีมทั้งหมด 24 ทีมจะถูกแบ่งออกเป็น 6 กลุ่ม กลุ่มละ 4 ทีม โดยในแต่ละกลุ่มจะแข่งขันแบบพบกันหมด สองทีมอันดับแรกของแต่ละกลุ่มและทีมอันดับสามที่ดีที่สุดสี่ทีม จะผ่านเข้าสู่รอบ 16 ทีมสุดท้าย ผู้ชนะในรอบ 16 ทีมสุดท้าย จะไปพบกันในรอบก่อนรองชนะเลิศ และผู้ชนะในรอบก่อนรองชนะเลิศ จะไปพบกันในรอบรองชนะเลิศ ผู้แพ้ในรอบรองชนะเลิศจะพบกันเพื่อชิงอันดับที่สาม ส่วนผู้ชนะในรอบรองชนะเลิศจะเข้าไปชิงชนะเลิศ

ลูกบอล

[แก้]

วันที่ 23 พฤศจิกายน ค.ศ. 2021 ซีเอเอฟได้เปิดตัวลูกบอลที่จะใช้ในการแข่งขัน มีชื่อว่า "Toghu" ลูกบอลนี้ผลิตโดยบริษัทอัมโบรของอังกฤษ[9]

มาสคอต

[แก้]

วันที่ 17 พฤษภาคม ค.ศ. 2021 ได้มีการเปิดตัวมาสคอตประจำการแข่งขันที่ยาอุนเด มีชื่อว่า "โมลา" โดยเป็นมาสคอตรูปสิงโตสวมชุดแข่งขันที่เหมือนกับชุดเหย้าของแคเมอรูน พร้อมมีคำว่า "Cameroon" และ "2021" อยู่ทั้งด้านบนและด้านล่างของชุด[10]

คณะกรรมการตัดสิน

[แก้]

ในส่วนของคณะกรรมการตัดสินในแอฟริกาคัพออฟเนชันส์ 2021 มีผู้ตัดสินเพียงสองคนที่มาจากสมาพันธ์ฟุตบอลอเมริกาเหนือ อเมริกากลาง และแคริบเบียน (คอนคาแคฟ) รายชื่อด้านล่างนี้ประกอบไปด้วยผู้ตัดสิน 24 คน ผู้ช่วยผู้ตัดสิน 31 คน และผู้ช่วยผู้ตัดสินวิดีโออีก 8 คน จาก 36 ประเทศ[11]

ผู้ตัดสิน

[แก้]

ผู้ช่วยผู้ตัดสิน

[แก้]

ผู้ช่วยผู้ตัดสินวิดีโอ

[แก้]

การจับสลาก

[แก้]

เดิมมีกำหนดการจับสลากการแข่งขันรอบสุดท้ายในวันที่ 25 มิถุนายน ค.ศ. 2021 แต่ได้เลื่อนออกไปเป็นวันที่ 17 สิงหาคม ค.ศ. 2021[1][5][12] ทีมชาติที่เข้าร่วมแข่งขัน 24 ทีม จะถูกจับสลากแบ่งออกเป็น 6 กลุ่ม

โถ 1 โถ 2 โถ 3 โถ 4

ธงชาติแคเมอรูน แคเมอรูน (เจ้าภาพ)
ธงชาติแอลจีเรีย แอลจีเรีย (แชมป์เก่า)
ธงชาติเซเนกัล เซเนกัล
ธงชาติตูนิเซีย ตูนิเซีย
ธงชาติไนจีเรีย ไนจีเรีย
ธงชาติโมร็อกโก โมร็อกโก

ธงชาติอียิปต์ อียิปต์
ธงชาติกานา กานา
ธงชาติมาลี มาลี
ธงชาติโกตดิวัวร์ โกตดิวัวร์
ธงชาติกินี กินี
ธงชาติบูร์กินาฟาโซ บูร์กินาฟาโซ

ธงชาติกาบูเวร์ดี กาบูเวร์ดี
ธงชาติกาบอง กาบอง
ธงชาติมอริเตเนีย มอริเตเนีย
ธงชาติซิมบับเว ซิมบับเว
ธงชาติกินี-บิสเซา กินี-บิสเซา
ธงชาติเซียร์ราลีโอน เซียร์ราลีโอน

ธงชาติซูดาน ซูดาน
ธงชาติมาลาวี มาลาวี
ธงชาติคอโมโรส คอโมโรส
ธงชาติอิเควทอเรียลกินี อิเควทอเรียลกินี
ธงชาติเอธิโอเปีย เอธิโอเปีย
ธงชาติประเทศแกมเบีย แกมเบีย

สนามแข่งขัน

[แก้]

เนื่องจากแอฟริกาคัพออฟเนชันส์ครั้งนี้เพิ่มจำนวนทีมจาก 16 เป็น 24 ทีม ทำให้ต้องมีสนามแข่งขันอย่างน้อย 6 แห่งใน 5 เมืองของแคเมอรูน[13] สนามแข่งขันทั้ง 6 แห่ง ประกอบไปด้วยรายชื่อที่แสดงในตารางด้านล่างนี้[14] นัดเปิดสนามและนัดชิงชนะเลิศของการแข่งขันถูกกำหนดให้แข่งขันที่สนามกีฬาโอเลมเบในยาอุนเด เป็นสนามสร้างใหม่ มีความจุ 60,000 ที่นั่ง[15]

ดูอาลา ยาอุนเด
Japoma Stadium Olembe Stadium Stade Ahmadou Ahidjo
ความจุ: 50,000 ความจุ: 60,000 ความจุ: 42,500
Garoua Bafoussam Limbe
Roumdé Adjia Stadium Kouekong Stadium Limbe Stadium
ความจุ: 30,000 ความจุ: 20,000 ความจุ: 20,000

ผู้เล่น

[แก้]

รอบแบ่งกลุ่ม

[แก้]

สองทีมอันดับแรกของแต่ละกลุ่ม ร่วมกับทีมอันดับสามที่ดีที่สุดสี่ทีม จะผ่านเข้าสู่รอบ 16 ทีมสุดท้าย เวลาที่ปรากฏในทุกนัดเป็นเวลาท้องถิ่น (เวลาแอฟริกาตะวันตก; UTC+1)

กลุ่มเอ

[แก้]
อันดับ ทีม เล่น ชนะ เสมอ แพ้ ได้ เสีย ต่าง คะแนน การผ่านเข้ารอบ
1 ธงชาติแคเมอรูน แคเมอรูน (H) 3 2 1 0 7 3 +4 7 ผ่านเข้าสู่รอบแพ้คัดออก
2 ธงชาติบูร์กินาฟาโซ บูร์กินาฟาโซ 3 1 1 1 3 3 0 4[a]
3 ธงชาติกาบูเวร์ดี กาบูเวร์ดี 3 1 1 1 2 2 0 4[a]
4 ธงชาติเอธิโอเปีย เอธิโอเปีย 3 0 1 2 2 6 −4 1
แหล่งข้อมูล: CAF
(H) เจ้าภาพ
Notes:
  1. 1.0 1.1 เฮด-ทู-เฮด: กาบูเวร์ดี 0–1 บูร์กินาฟาโซ

แคเมอรูน ธงชาติแคเมอรูน4–1ธงชาติเอธิโอเปีย เอธิโอเปีย
รายงาน Hotessa ประตู 4'
กาบูเวร์ดี ธงชาติกาบูเวร์ดี0–1ธงชาติบูร์กินาฟาโซ บูร์กินาฟาโซ
รายงาน Bandé ประตู 39'

กลุ่มบี

[แก้]
อันดับ ทีม เล่น ชนะ เสมอ แพ้ ได้ เสีย ต่าง คะแนน การผ่านเข้ารอบ
1 ธงชาติเซเนกัล เซเนกัล 3 1 2 0 1 0 +1 5 ผ่านเข้าสู่รอบแพ้คัดออก
2 ธงชาติกินี กินี 3 1 1 1 2 2 0 4[a]
3 ธงชาติมาลาวี มาลาวี 3 1 1 1 2 2 0 4[a]
4 ธงชาติซิมบับเว ซิมบับเว 3 1 0 2 3 4 −1 3
แหล่งข้อมูล: CAF
Notes:
  1. 1.0 1.1 เฮด-ทู-เฮด: กินี 1–0 มาลาวี
เซเนกัล ธงชาติเซเนกัล1–0ธงชาติซิมบับเว ซิมบับเว
มาเน ประตู 90+7' (ลูกโทษ) รายงาน
กินี ธงชาติกินี1–0ธงชาติมาลาวี มาลาวี
Sylla ประตู 35' รายงาน

เซเนกัล ธงชาติเซเนกัล0–0ธงชาติกินี กินี
รายงาน
มาลาวี ธงชาติมาลาวี2–1ธงชาติซิมบับเว ซิมบับเว
Mhango ประตู 43'58' รายงาน Wadi ประตู 38'

มาลาวี ธงชาติมาลาวี0–0ธงชาติเซเนกัล เซเนกัล
รายงาน
ซิมบับเว ธงชาติซิมบับเว2–1ธงชาติกินี กินี
รายงาน เอ็น. เกอีตา ประตู 49'

กลุ่มซี

[แก้]
อันดับ ทีม เล่น ชนะ เสมอ แพ้ ได้ เสีย ต่าง คะแนน การผ่านเข้ารอบ
1 ธงชาติโมร็อกโก โมร็อกโก 3 2 1 0 5 2 +3 7 ผ่านเข้าสู่รอบแพ้คัดออก
2 ธงชาติกาบอง กาบอง 3 1 2 0 4 3 +1 5
3 ธงชาติคอโมโรส คอโมโรส 3 1 0 2 3 5 −2 3
4 ธงชาติกานา กานา 3 0 1 2 3 5 −2 1
แหล่งข้อมูล: CAF
โมร็อกโก ธงชาติโมร็อกโก1–0ธงชาติกานา กานา
บูฟัล ประตู 83' รายงาน
คอโมโรส ธงชาติคอโมโรส0–1ธงชาติกาบอง กาบอง
รายงาน Boupendza ประตู 16'

โมร็อกโก ธงชาติโมร็อกโก2–0ธงชาติคอโมโรส คอโมโรส
รายงาน
กาบอง ธงชาติกาบอง1–1ธงชาติกานา กานา
Allevinah ประตู 88' รายงาน อายูว์ ประตู 18'

กาบอง ธงชาติกาบอง2–2ธงชาติโมร็อกโก โมร็อกโก
รายงาน
กานา ธงชาติกานา2–3ธงชาติคอโมโรส คอโมโรส
รายงาน

กลุ่มดี

[แก้]
อันดับ ทีม เล่น ชนะ เสมอ แพ้ ได้ เสีย ต่าง คะแนน การผ่านเข้ารอบ
1 ธงชาติไนจีเรีย ไนจีเรีย 3 3 0 0 6 1 +5 9 ผ่านเข้าสู่รอบแพ้คัดออก
2 ธงชาติอียิปต์ อียิปต์ 3 2 0 1 2 1 +1 6
3 ธงชาติซูดาน ซูดาน 3 0 1 2 1 4 −3 1
4 ธงชาติกินี-บิสเซา กินี-บิสเซา 3 0 1 2 0 3 −3 1
แหล่งข้อมูล: CAF
ไนจีเรีย ธงชาติไนจีเรีย1–0ธงชาติอียิปต์ อียิปต์
อิเฮอานาชอ ประตู 30' รายงาน
ซูดาน ธงชาติซูดาน0–0ธงชาติกินี-บิสเซา กินี-บิสเซา
รายงาน

ไนจีเรีย ธงชาติไนจีเรีย3–1ธงชาติซูดาน ซูดาน
รายงาน Khedr ประตู 70' (ลูกโทษ)

กินี-บิสเซา ธงชาติกินี-บิสเซา0–2ธงชาติไนจีเรีย ไนจีเรีย
รายงาน
อียิปต์ ธงชาติอียิปต์1–0ธงชาติซูดาน ซูดาน
Abdelmonem ประตู 35' รายงาน

กลุ่มอี

[แก้]
อันดับ ทีม เล่น ชนะ เสมอ แพ้ ได้ เสีย ต่าง คะแนน การผ่านเข้ารอบ
1 ธงชาติโกตดิวัวร์ โกตดิวัวร์ 3 2 1 0 6 3 +3 7 ผ่านเข้าสู่รอบแพ้คัดออก
2 ธงชาติอิเควทอเรียลกินี อิเควทอเรียลกินี 3 2 0 1 2 1 +1 6
3 ธงชาติเซียร์ราลีโอน เซียร์ราลีโอน 3 0 2 1 2 3 −1 2
4 ธงชาติแอลจีเรีย แอลจีเรีย 3 0 1 2 1 4 −3 1
แหล่งข้อมูล: CAF


โกตดิวัวร์ ธงชาติโกตดิวัวร์3–1ธงชาติแอลจีเรีย แอลจีเรีย
รายงาน Bendebka ประตู 73'

กลุ่มเอฟ

[แก้]
อันดับ ทีม เล่น ชนะ เสมอ แพ้ ได้ เสีย ต่าง คะแนน การผ่านเข้ารอบ
1 ธงชาติมาลี มาลี 3 2 1 0 4 1 +3 7 ผ่านเข้าสู่รอบแพ้คัดออก
2 ธงชาติประเทศแกมเบีย แกมเบีย 3 2 1 0 3 1 +2 7
3 ธงชาติตูนิเซีย ตูนิเซีย 3 1 0 2 4 2 +2 3
4 ธงชาติมอริเตเนีย มอริเตเนีย 3 0 0 3 0 7 −7 0
แหล่งข้อมูล: CAF
ตูนิเซีย ธงชาติตูนิเซีย0–1ธงชาติมาลี มาลี
รายงาน Koné ประตู 48' (ลูกโทษ)
มอริเตเนีย ธงชาติมอริเตเนีย0–1ธงชาติประเทศแกมเบีย แกมเบีย
รายงาน A. Jallow ประตู 10'

แกมเบีย ธงชาติประเทศแกมเบีย1–1ธงชาติมาลี มาลี
Mu. Barrow ประตู 90' (ลูกโทษ) รายงาน Koné ประตู 79' (ลูกโทษ)
ตูนิเซีย ธงชาติตูนิเซีย4–0ธงชาติมอริเตเนีย มอริเตเนีย
รายงาน

แกมเบีย ธงชาติประเทศแกมเบีย1–0ธงชาติตูนิเซีย ตูนิเซีย
A. Jallow ประตู 90+3' รายงาน
มาลี ธงชาติมาลี2–0ธงชาติมอริเตเนีย มอริเตเนีย
รายงาน

ตารางคะแนนของทีมอันดับสามที่ดีที่สุด

[แก้]
อันดับ กลุ่ม ทีม เล่น ชนะ เสมอ แพ้ ได้ เสีย ต่าง คะแนน การผ่านเข้ารอบ
1 เอ ธงชาติกาบูเวร์ดี กาบูเวร์ดี 3 1 1 1 2 2 0 4 ผ่านเข้าสู่รอบแพ้คัดออก
1 บี ธงชาติมาลาวี มาลาวี 3 1 1 1 2 2 0 4
3 เอฟ ธงชาติตูนิเซีย ตูนิเซีย 3 1 0 2 4 2 +2 3
4 ซี ธงชาติคอโมโรส คอโมโรส 3 1 0 2 3 5 −2 3
5 อี ธงชาติเซียร์ราลีโอน เซียร์ราลีโอน 3 0 2 1 2 3 −1 2
6 ดี ธงชาติซูดาน ซูดาน 3 0 1 2 1 4 −3 1
แหล่งข้อมูล: CAF
กฏการจัดอันดับ: 1) คะแนน; 2) ผลต่างประตู; 3) ประตูได้; 4) Drawing of lots.

รอบแพ้คัดออก

[แก้]

สายการแข่งขัน

[แก้]
 
รอบ 16 ทีมสุดท้ายรอบก่อนรองชนะเลิศรอบรองชนะเลิศนัดชิงชนะเลิศ
 
              
 
23 มกราคม – Limbe
 
 
ธงชาติบูร์กินาฟาโซ บูร์กินาฟาโซ
(ลูกโทษ)
1 (7)
 
29 มกราคม – Garoua
 
ธงชาติกาบอง กาบอง1 (6)
 
ธงชาติบูร์กินาฟาโซ บูร์กินาฟาโซ1
 
23 มกราคม – Garoua
 
ธงชาติตูนิเซีย ตูนิเซีย0
 
ธงชาติไนจีเรีย ไนจีเรีย0
 
2 กุมภาพันธ์ – ยาอุนเด (Ahidjo)
 
ธงชาติตูนิเซีย ตูนิเซีย1
 
ธงชาติบูร์กินาฟาโซ บูร์กินาฟาโซ1
 
25 มกราคม – Bafoussam
 
ธงชาติเซเนกัล เซเนกัล3
 
ธงชาติเซเนกัล เซเนกัล2
 
30 มกราคม – ยาอุนเด (Ahidjo)
 
ธงชาติกาบูเวร์ดี กาบูเวร์ดี0
 
ธงชาติเซเนกัล เซเนกัล3
 
26 มกราคม – Limbe
 
ธงชาติอิเควทอเรียลกินี อิเควทอเรียลกินี1
 
ธงชาติมาลี มาลี0 (5)
 
6 กุมภาพันธ์ – ยาอุนเด (Olembe)
 
ธงชาติอิเควทอเรียลกินี อิเควทอเรียลกินี
(ลูกโทษ)
0 (6)
 
ธงชาติเซเนกัล เซเนกัล
(ลูกโทษ)
0 (4)
 
24 มกราคม – Bafoussam
 
ธงชาติอียิปต์ อียิปต์0 (2)
 
ธงชาติกินี กินี0
 
29 มกราคม – Douala
 
ธงชาติประเทศแกมเบีย แกมเบีย1
 
ธงชาติประเทศแกมเบีย แกมเบีย0
 
24 มกราคม – ยาอุนเด (Olembe)
 
ธงชาติแคเมอรูน แคเมอรูน2
 
ธงชาติแคเมอรูน แคเมอรูน2
 
3 กุมภาพันธ์ – ยาอุนเด (Olembe)
 
ธงชาติคอโมโรส คอโมโรส1
 
ธงชาติแคเมอรูน แคเมอรูน0 (1)
 
26 มกราคม – ดูอาลา
 
ธงชาติอียิปต์ อียิปต์
(ลูกโทษ)
0 (3) นัดชิงอันดับที่สาม
 
ธงชาติโกตดิวัวร์ โกตดิวัวร์0 (4)
 
30 มกราคม – ยาอุนเด (Ahidjo)5 กุมภาพันธ์ – ยาอุนเด (Ahidjo)
 
ธงชาติอียิปต์ อียิปต์
(ลูกโทษ)
0 (5)
 
ธงชาติอียิปต์ อียิปต์
(ต่อเวลา)
2ธงชาติบูร์กินาฟาโซ บูร์กินาฟาโซ3 (3)
 
25 มกราคม – ยาอุนเด (Ahidjo)
 
ธงชาติโมร็อกโก โมร็อกโก1 ธงชาติแคเมอรูน แคเมอรูน
(ลูกโทษ)
3 (5)
 
ธงชาติโมร็อกโก โมร็อกโก2
 
 
ธงชาติมาลาวี มาลาวี1
 

รอบ 16 ทีมสุดท้าย

[แก้]

ไนจีเรีย ธงชาติไนจีเรีย0–1ธงชาติตูนิเซีย ตูนิเซีย
รายงาน Msakni ประตู 47'

กินี ธงชาติกินี0–1ธงชาติประเทศแกมเบีย แกมเบีย
รายงาน มู. แบร์โรว์ ประตู 71'


เซเนกัล ธงชาติเซเนกัล2–0ธงชาติกาบูเวร์ดี กาบูเวร์ดี
รายงาน

โมร็อกโก ธงชาติโมร็อกโก2–1ธงชาติมาลาวี มาลาวี
รายงาน Mhango ประตู 7'


รอบก่อนรองชนะเลิศ

[แก้]
แกมเบีย ธงชาติประเทศแกมเบีย0–2ธงชาติแคเมอรูน แคเมอรูน
รายงาน Toko Ekambi ประตู 50'57'

บูร์กินาฟาโซ ธงชาติบูร์กินาฟาโซ1–0ธงชาติตูนิเซีย ตูนิเซีย
Da. Ouattara ประตู 45+3' รายงาน


รอบรองชนะเลิศ

[แก้]

นัดชิงอันดับที่สาม

[แก้]

นัดชิงชนะเลิศ

[แก้]

สถิติ

[แก้]

ผู้ทำประตู

[แก้]

มีการทำประตู 100 ประตู จากการแข่งขัน 52 นัด เฉลี่ย 1.92 ประตูต่อนัด


การทำประตู 8 ครั้ง

การทำประตู 5 ครั้ง

การทำประตู 3 ครั้ง

การทำประตู 2 ครั้ง

การทำประตู 1 ครั้ง

การทำเข้าประตูตัวเอง 1 ครั้ง

  • บูร์กินาฟาโซ Adama Guira (ในนัดที่พบกาบอง)
  • แคเมอรูน André Onana (ในนัดที่พบบูร์กินาฟาโซ)
  • โมร็อกโก Nayef Aguerd (ในนัดที่พบกาบอง)

รางวัล

[แก้]
ผู้เล่นยอดเยี่ยม
เซเนกัล ซาดีโย มาเน[2]
รองเท้าทองคำ
แคเมอรูน แว็งซ็อง อาบูบาการ์
(8 ประตู)[2]
ผู้รักษาประตูยอดเยี่ยม
เซเนกัล เอดัวร์ แมนดี[2]
ผู้เล่นดาวรุ่งยอดเยี่ยม
บูร์กินาฟาโซ Issa Kaboré[4]
รางวัลการเล่นใสสะอาด
ธงชาติเซเนกัล เซเนกัล[2]

ทีมยอดเยี่ยม

[แก้]

อ้างอิง:[22]

ผู้ฝึกสอน: เซเนกัล Aliou Cissé

ผู้รักษาประตู กองหลัง กองกลาง กองหน้า
เซเนกัล เอดัวร์ แมนดี โมร็อกโก อัชร็อฟ ฮะกีมี
อียิปต์ Mohamed Abdelmonem
บูร์กินาฟาโซ Edmond Tapsoba
เซเนกัล Saliou Ciss
อียิปต์ มุฮัมมัด อันนินนี
เซเนกัล Nampalys Mendy
บูร์กินาฟาโซ Blati Touré
เซเนกัล ซาดีโย มาเน
แคเมอรูน แว็งซ็อง อาบูบาการ์
อียิปต์ มุฮัมมัด เศาะลาห์

การถ่ายทอดสด

[แก้]

ตารางด้านล่างนี้แสดงรายชื่อผู้ได้รับสิทธิ์ออกอากาศการแข่งขันแอฟริกาคัพออฟเนชันส์ 2021:[23]

ประเทศหรือดินแดน ผู้ได้สิทธิ์ออกอากาศ อ้างอิง
แอลจีเรีย แอลจีเรียน ทีวี1 [24]
แคเมอรูน ซีอาร์ทีวี [25]
ฝรั่งเศส บีอินสปอตส์ [23]
เยอรมนี สปอร์ตดิจิทัล [23]
เนเธอร์แลนด์ อีเอสพีเอ็น [23]
อิตาลี ดิสคัฟเวอรีแชนแนล [23]
โปรตุเกส คาแนลอีเลฟเวน [26]
สหราชอาณาจักร [23]
แอฟริกาใต้สะฮารา [23]
ตะวันออกกลางและแอฟริกาเหนือ บีอินสปอตส์ [23]
เอเชียแปซิฟิก
อเมริกาเหนือ
อเมริกาใต้ อีเอสพีเอ็น [23]
อเมริกากลางและแคริบเบียน
ยุโรปเหนือ เน็นต์กรุ๊ป [23]
ยุโรปตะวันออก สปอร์ตคลับ [23]
ทั่วโลก ซีเอเอฟ ทีวี (ยูทูบ) [23]

หมายเหตุ

[แก้]
  1. การแข่งขันนัด มอริเตเนีย พบ แกมเบีย เดิมมีกำหนดแข่งขันในเวลา 17:00 แต่ได้เลื่อนออกไปเป็น 17:45 เนื่องจากเกิดปัญหาด้านเวลาแข่งขันในนัด ตูนิเซีย พบ มาลี
  2. เดิมนัดนี้จะแข่งขันกันที่ Olembe Stadium ในยาอุนเด แต่ภายหลังได้ย้ายสนามแข่งขันเนื่องจากเกิดภัยพิบัติสนามกีฬายาอุนเด[16][17][18]
  3. 3.0 3.1 เดิมนัดนี้จะแข่งขันกันที่ Japoma Stadium ในดูอาลา แต่ภายหลังได้ย้ายสนามแข่งขัน[18][19][20]
  4. เดิมนัดชิงอันดับที่สามมีกำหนดแข่งขันวันที่ 6 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 2022 เวลา 17:00 แต่ได้เลื่อนมาแข่งเร็วขึ้นหนึ่งวันเนื่องด้วยเหตุผลด้านความปลอดภัย[21]

อ้างอิง

[แก้]
  1. 1.0 1.1 1.2 "CAF Executive Committee put infrastructures as one of the main priorities". CAF. 31 March 2021. สืบค้นเมื่อ 1 April 2021.
  2. 2.0 2.1 2.2 2.3 2.4 2.5 "Mane, Cissé, Mendy, Aboubakar take TotalEnergies AFCON individual awards". Confederation of African Football. 8 February 2022. สืบค้นเมื่อ 8 February 2022.
  3. @CAF_Online (6 February 2022). "The brick wall Edouard Mendy earns the best goalkeeper award in the #TotalEnergiesAFCON2021 #AFCON2021" (ทวีต). สืบค้นเมื่อ 6 February 2022 – โดยทาง ทวิตเตอร์.
  4. 4.0 4.1 @CAF_Online (6 February 2022). "The Burkinabe Stallion Issa Kabore becomes the best young player in the #TotalEnergiesAFCON2021 #AFCON2021" (ทวีต). สืบค้นเมื่อ 7 February 2022 – โดยทาง ทวิตเตอร์.
  5. 5.0 5.1 "CAF postpones TotalEnergies Africa Cup final draw, new date to be set soon". CAF. 6 June 2021. สืบค้นเมื่อ 7 June 2021.
  6. "Cameroon to host 2019, Cote d'Ivoire for 2021, Guinea 2023". CAF. 20 September 2014.
  7. "Statement from the Organising Committee of the Total African Cup of Nations Cameroon 2021". CAF. 15 January 2020.
  8. "Decisions of CAF Executive Meeting – 30 June 2020". CAF. 30 June 2020.
  9. Oludare, Shina (24 November 2021). "Afcon 2021: Toghu unveiled as official match ball". Goal. สืบค้นเมื่อ 2 January 2022.
  10. "Cameroon-Tribune.com | Toute l'actualité de l'administration BIYA du jour à la une depuis Yaoundé". www.cameroon-tribune.com. สืบค้นเมื่อ 2022-01-16.{{cite web}}: CS1 maint: url-status (ลิงก์)
  11. "TotalEnergies AFCON Cameroon match officials announced". Confederation of African Football. 21 December 2021.
  12. "CAN 2021 : Le tirage au sort prévu au 15 août prochain". 21 July 2021. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2022-01-07. สืบค้นเมื่อ 21 July 2021.
  13. Bongben, Leocadia (19 July 2017). "Cameroon government moves to ease 2019 AFCON fears". BBC. สืบค้นเมื่อ 26 July 2019.
  14. "The Six stadiums To Host Afcon 2021 Cameroon". camer237.com. 25 July 2019. สืบค้นเมื่อ 26 July 2019.
  15. Okeleji, Oluwashina (3 December 2018). "Football: Ready or not, here we come". The Africa Report.com.
  16. Kouam, Joel; McCluskey, Mitchell; Klosok, Aleks (24 January 2022). "AFCON: Report into deadly stadium crush will focus on who closed gate that led to loss of lives". CNN. สืบค้นเมื่อ 25 January 2022.
  17. "Afcon 2021: Quarter-final at Olembe Stadium to be moved after fatal crush". BBC Sport. 26 January 2022. สืบค้นเมื่อ 26 January 2022.
  18. 18.0 18.1 "CAF Organising Committee Media Statement". Confederation of African Football. 26 January 2022. สืบค้นเมื่อ 27 January 2022.
  19. "Afcon 2021: Two Douala games moved to Yaounde". BBC Sport. 26 January 2022. สืบค้นเมื่อ 27 January 2022.
  20. "African Cup organizers change venues for 3 knockout games". Associated Press. 26 January 2022. สืบค้นเมื่อ 27 January 2022.
  21. "AFCON third-place match brought forward to Saturday". BeIN Sports. 3 February 2022. สืบค้นเมื่อ 3 February 2022.
  22. @CAF_Online (7 February 2022). "Not your average players Here is the #TotalEnergiesAFCON2021 best XI #AFCON2021" (ทวีต). สืบค้นเมื่อ 7 February 2022 – โดยทาง ทวิตเตอร์.
  23. 23.00 23.01 23.02 23.03 23.04 23.05 23.06 23.07 23.08 23.09 23.10 23.11 "TotalEnergies AFCON 2021 to be broadcast in over 150 countries". cafonline.com. 9 January 2022.
  24. "L'EPTV achète 25 matchs de la CAN-2021". La Gazette du Fennec. Mohamed Touileb. 16 August 2021.
  25. "La CAF annonce que la Crtv est le diffuseur hôte de la Can 2021". lebledparle.com. 21 December 2021. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2022-01-11. สืบค้นเมื่อ 2022-01-17.
  26. "CAN 2021 vai ter transmissão no Canal 11". 10 January 2022. สืบค้นเมื่อ 15 January 2022.

แหล่งข้อมูลอื่น

[แก้]