ฮัมวี
บทความนี้ยังต้องการเพิ่มแหล่งอ้างอิงเพื่อพิสูจน์ความถูกต้อง |
ยานยนต์ล้อยางอเนกประสงค์ความคล่องตัวสูง (ฮัมวี) | |
---|---|
รถลำเลียงอาวุธยกระดับเอ็ม1151 | |
ชนิด | ไม่หุ้มเกราะ: รถอเนกประสงค์ขนาดเล็ก หุ้มเกราะ: รถเกราะขนาดเล็ก |
แหล่งกำเนิด | สหรัฐ |
บทบาท | |
ประจำการ | ค.ศ. 1983–ปัจจุบัน |
ประวัติการผลิต | |
บริษัทผู้ผลิต | เอเอ็ม เจเนอรัล |
มูลค่า | 220,000 ดอลลาร์ (ค.ศ. 2011) (ขึ้นหุ้มเกราะ)[1] |
ช่วงการผลิต | ค.ศ. 1984–ปัจจุบัน |
จำนวนที่ผลิต | 281,000 คัน[2][3] |
ข้อมูลจำเพาะ | |
มวล | น้ำหนักรถเปล่า 5,200 ถึง 5,900 ปอนด์ (2,359 ถึง 2,676 กก.), น้ำหนักรวม 7,700 ถึง 8,500 ปอนด์ (3,493 ถึง 3,856 กก.)[4] |
ความยาว | 15 ft (4.57 m),[5] ความยาวฐานล้อ 10 ฟุต 10 นิ้ว (3.30 เมตร) |
ความกว้าง | 7 ฟุต 1 นิ้ว (2.16 เมตร)[5] |
ความสูง | 6 ft (1.83 m), ลดได้ถึง 4 ฟุต 6 นิ้ว (1.37 เมตร)[5] |
อาวุธหลัก | หลายอย่าง, ดูคุณสมบัติการออกแบบ |
เครื่องยนต์ | ดีเซล วี8 6.2 L (380 cu in) หรือแก๊สโซลีน 6.3 ลิตร หรือ 6.5 L (400 cu in)[4][6] ดีเซล วี8 เทอร์โบ และดีเซลไม่มีเทอร์โบ: 190 แรงม้า (142 กิโลวัตต์) ที่ 3,400 รอบต่อนาที / 380 ฟุต-ปอนด์ (515 นิวตันเมตร) ที่ 1,700 รอบต่อนาที[ต้องการอ้างอิง] |
เครื่องถ่ายกำลัง | ระบบเกียร์อัตโนมัติ 3 สปีด หรือระบบเกียร์อัตโนมัติ 4 สปีด[4] |
กันสะเทือน | ระบบอิสระ 4 ล้อ |
ความจุเชื้อเพลิง | 25 แกลลอนสหรัฐ (95 ลิตร)[5] |
ความเร็ว | 55 ไมล์ต่อชั่วโมง (89 กม./ชม.) ที่น้ำหนักรวมสูงสุด[7] ความเร็วสูงสุดมากกว่า 70 ไมล์ต่อชั่วโมง (113 กม./ชม.)[4][8] |
ฮัมวี หรือ ยานยนต์ล้อยางอเนกประสงค์ความคล่องตัวสูง (อังกฤษ: High Mobility Multipurpose Wheeled Vehicle; อักษรย่อ: HMMWV; สำนวนภาษาปาก: Humvee) เป็นรถตระกูลขนาดเล็ก, ขับเคลื่อนสี่ล้อ และรถอเนกประสงค์ ผลิตโดยเอเอ็ม เจเนอรัล[9] มันได้แทนที่บทบาทส่วนใหญ่ที่ดำเนินการก่อนหน้าโดยรถจี๊ปดั้งเดิม และอื่น ๆ เช่น รถจี๊ปเอ็ม151 ในยุคสงครามเวียดนาม, เอ็ม561 "แกมมาโกต", รุ่นรถพยาบาลเอ็ม718เอ1 และเอ็ม792, รถขนส่งสินค้าอเนกประสงค์เพื่อการพาณิชย์ (CUCV) และรถบรรทุกขนาดเล็ก ส่วนใหญ่ใช้โดยกองทัพสหรัฐ รวมถึงได้รับการใช้โดยประเทศและองค์กรอื่น ๆ อีกเป็นจำนวนมาก และแม้กระทั่งในการดัดแปลงส่วนพลเรือน ฮัมวีได้รับการใช้อย่างแพร่หลายในสงครามอ่าวของปี ค.ศ. 1991 ซึ่งมันได้โยกย้ายในภูมิประเทศทะเลทรายที่ไม่ปลอดภัย การใช้งานนี้ช่วยสร้างแรงบันดาลใจให้กับรุ่นฮัมเมอร์ของพลเรือน หลังจากผ่านกระบวนการทดแทนแล้ว ยานพาหนะทางยุทธวิธีร่วมน้ำหนักเบา (JLTV) ได้รับเลือกให้เป็นรุ่นสืบทอด
ประวัติ
[แก้]ตั้งแต่ตั้งแต่รถลาดตระเวณ ¼ ตันในสงครามโลกครั้งที่สองได้รับไฟเขียวสำหรับการใช้งานจำนวนมาก และกลายเป็นที่รู้จักในฐานะ "รถจี๊ป" กองทัพสหรัฐยังคงพึ่งพารถจี๊ปอย่างหนักในฐานะรถอเนกประสงค์ และในการขนส่งมวลชนสำหรับทหารในกลุ่มเล็ก ๆ แม้ว่ากองทัพสหรัฐให้ฟอร์ดออกแบบรถจี๊ปใหม่จากเริ่มต้นในช่วงคริสต์ทศวรรษ 1950 และรถจี๊ปเอ็ม151 ที่เป็นผลลัพธ์ได้รวมนวัตกรรมที่สำคัญ ซึ่งยึดมั่นกับแนวคิดดั้งเดิม ได้แก่ รถยนต์ขนาดกะทัดรัด, มีน้ำหนักเบา, รูปแบบที่เกือบจะมองไม่ออก ด้วยกระจกหน้ารถพับ ที่คนธรรมดาแทบจะไม่สามารถแยกความแตกต่างจากรถจี๊ปวิลลีส์ที่มาก่อน รถจี๊ปเล็กนั้นสั้นกว่าฟ็อลคส์วาเกิน บีเทิล และมีน้ำหนักมากกว่าหนึ่งเมตริกตัน สามที่นั่งที่มีน้ำหนักบรรทุก 800 ปอนด์ (360 กก.) ระหว่างและหลังสงคราม รถจี๊ปน้ำหนักเบาขนาด 14 ตัน ได้รับการเสริมด้วยดอดจ์ ดับเบิลยูซี และโคเรียวอร์เอ็ม37 โมเดล ขนาด 34 ตัน
ประจำการ
[แก้]- อัฟกานิสถาน – ประเทศอัฟกานิสถานได้สั่งซื้อเพิ่มอีก 3,334 คันในปี ค.ศ. 2010 และปี ค.ศ. 2011 สำหรับตำรวจแห่งชาติ, กองกำลังรักษาดินแดนแห่งชาติ และในทางทหารอื่น ๆ[10] ส่วนยานพาหนะเอ็ม1114 จำนวน 950 คันได้ส่งมอบให้กับกองทัพภายในเดือนพฤศจิกายน ค.ศ. 2012[11]
- แอลเบเนีย – 248 คันในการสั่งซื้อ และของขวัญโดยสหรัฐ[12][13]
- อาร์เจนตินา – กว่า 400 คันในกองทัพอาร์เจนตินา[14]
- อาเซอร์ไบจาน – กว่า 100 คันใช้โดยกองทัพอาเซอร์ไบจานและกองกำลังรักษาสันติภาพ[15]
- บาห์เรน – ยานพาหนะที่ขายภายใต้โครงการการขายให้แก่ฝ่ายทหารของต่างประเทศ[14]
- โบลิเวีย[14]
- บอสเนียและเฮอร์เซโกวีนา – 25 คันในปี ค.ศ. 2010[16] และ 44 คันบริจาคโดยสหรัฐในปี ค.ศ. 2017[17]
- บัลแกเรีย – 52 คัน ได้แก่รุ่นเอ็ม1114 จำนวน 50 คันเป็นรถหุ้มเกราะ และอีก 2 คันเป็นรถพยาบาล[18]
- แคนาดา – เอ็ม1113 และเอ็ม1117 จำนวนน้อยในการใช้โดยกองกำลังเฉพาะกิจร่วม 2 (JTF-2) และกรมปฏิบัติการพิเศษ (CSOR)[19] ใช้ในประเทศอัฟกานิสถาน[20]
- ชาด – ยานพาหนะที่ขายภายใต้โครงการการขายให้แก่ฝ่ายทหารของต่างประเทศ[14]
- ชิลี[14] – 565 คันในกองทัพบกชิลี และ 100 คันในเหล่านาวิกโยธินชิลี
- โคลอมเบีย[14]
- เช็กเกีย – กลุ่มกองกำลังพิเศษที่ 601 โดยส่วนใหญ่[21]
- สาธารณรัฐโดมินิกัน
- เดนมาร์ก – 30 คัน[22]
- จิบูตี – ยานพาหนะที่ขายภายใต้โครงการการขายให้แก่ฝ่ายทหารของต่างประเทศ[14] พวกเขาได้ใช้ทำศึกในคริสต์ทศวรรษ 1990 ในช่วงการกบฏแนวรบเพื่อการฟื้นฟูเอกภาพและประชาธิปไตย[23]
- เอกวาดอร์[14]
- อียิปต์[14]
- เอธิโอเปีย – ยานพาหนะฮัมวี 2,100 คันที่ขายภายใต้โครงการการขายให้แก่ฝ่ายทหารของต่างประเทศ[14]
- จอร์เจีย[24][25]
- ฮอนดูรัส – ยานพาหนะที่ได้รับการจัดหาผ่านโครงการการขายให้แก่ฝ่ายทหารของต่างประเทศ[14]
- อิรัก – ในช่วงสงครามอิรัก มีการมอบฮัมวีของกองทัพสหรัฐจากคลังแสงแก่กองกำลังรักษาความปลอดภัยอิรัก ประจำกองทัพอิรัก ซึ่งกองทัพอิรักมีฮัมวีมากกว่า 10,000 คัน[26] ทว่าบางส่วนของจำนวนเหล่านี้ถูกเข้ายึดโดยรัฐอิสลามอิรักและลิแวนต์ในการจราจลปี ค.ศ. 2014[27][28][29][30]
- อิสราเอล[31]
- รัฐอิสลามอิรักและลิแวนต์ – 2,300 คัน[32]
- คาตาอิบฮิซบุลลอฮ์[33]
- คาซัคสถาน[34]
- เคนยา – ยานพาหนะหลายคันได้รับการใช้งานโดยกองกำลังรักษาความปลอดภัย[35]
- คอซอวอ – มีการส่งมอบยานพาหนะ 24 คันในวันที่ 27 ธันวาคม ค.ศ. 2018 และมีคำสั่งซื้อ 27 คัน[36]
- คูเวต – ยานพาหนะที่ขายผ่านโครงการการขายให้แก่ฝ่ายทหารของต่างประเทศ[14]
- เลบานอน – กว่า 1,300 คัน[37]
- ลิเบีย – 200 คันบริจาคโดยกองทัพสหรัฐในเดือนกรกฎาคม ค.ศ. 2013[38]
- ลิทัวเนีย – 200 คัน[39]
- โมร็อกโก – โมร็อกโกมียานพาหนะกว่า 4,000 คันในกองทัพบกโมร็อกโก โดยบางส่วนได้ติดตั้งอาวุธปล่อยนำวิถีต่อสู้รถถังบีจีเอ็ม-71 ทอว์[ต้องการอ้างอิง]
- มาซิโดเนียเหนือ – 10 ถึง 90 คันได้รับการดัดแปลงแก้ไขที่ยูโรคอมโพซิต ติดอาวุธด้วยปืนกลหนักพีเค 7.62 x 54อาร์[ต้องการอ้างอิง]
- มอลโดวา – 90 คัน[40]
- เม็กซิโก – ยานพาหนะที่ขายผ่านโครงการการขายให้แก่ฝ่ายทหารของต่างประเทศ[14] 3,000 คันในราชการ[41]
- มอนเตเนโกร[42][ต้องการตรวจสอบความถูกต้องเนื้อหา]
- นิวซีแลนด์ – ได้ยืมพาหนะสหรัฐในอัฟกานิสถานซึ่งได้รับการดัดแปลงแก้ไขโดยนิวซีแลนด์สเปเชียลแอร์เซอร์วิสและแทนที่ด้วยพินซ์เกาเออร์ ทางกองทัพใช้ยานพาหนะสหรัฐเป็นจำนวนน้อยทั้งฟรีและเช่าในอัฟกานิสถานจนถึงปี ค.ศ. 2013[43]
- โอมาน – ยานพาหนะที่ขายผ่านโครงการการขายให้แก่ฝ่ายทหารของต่างประเทศ[14]
- เปรู – 34 คัน (ประกอบด้วยเอ็ม-1151เอ1 จำนวน 12 คัน นำไปใช้ในประเทศเฮติในฐานะส่วนหนึ่งของการรักษาสันติภาพของสหประชาชาติ, เอ็ม-1165เอ1 ปฏิบัติการพิเศษจำนวน 22 คัน ดำเนินการโดยกองพันคอมมานโดที่ 19) และอาจมีการซื้อยานพาหนะเพิ่มอีก 100 คัน[44]
- ฟิลิปปินส์[14]
- โปแลนด์[ต้องการอ้างอิง]
- โรมาเนีย – มีรุ่นเอ็ม1113/เอ็ม1114/เอ็ม1165/เอ็ม1151 จำนวน 322 คัน[ต้องการอ้างอิง]
- รัสเซีย – มียานพาหนะเหล่านาวิกโยธินสหรัฐจำนวนจำกัดซึ่งประจำการอยู่ที่ท่าเรือโปติของจอร์เจีย และกำลังรอการจัดส่งไปยังสหรัฐ ทว่าถูกชิงไปโดยกองทัพรัสเซีย[45]
- ซาอุดีอาระเบีย – ยานพาหนะที่ขายแก่ซาอุดีอาระเบียโดยสหรัฐภายใต้โครงการการขายให้แก่ฝ่ายทหารของต่างประเทศ[14]
- เซเนกัล – ยานพาหนะ 23 คันที่บริจาคโดยสหรัฐดำเนินการเมื่อปี ค.ศ. 2017[46][47]
- สเปน – 123 คัน ใช้โดยทหารราบนาวีสเปน[48] และหน่วยดูแลป้องกันพลเรือนเท่านั้น ส่วนกองทัพบกสเปน, กองทัพอากาศสเปน และกรมตำรวจแห่งชาติสเปน ใช้อูโร บัมตัก ซึ่งเป็นยานพาหนะที่คล้ายกัน ผลิตในประเทศสเปน
- เซอร์เบีย – 40 คัน ประกอบด้วยแบบไม่หุ้มเกราะ 17 คัน และหุ้มเกราะ 4 คัน บริจาคให้แก่กองทัพเซอร์เบียโดยรัฐบาลสหรัฐในปี ค.ศ. 2013 และอีก 19 คันบริจาคในปี ค.ศ. 2017[49][50]
- สโลวีเนีย – กองทัพสโลวีเนียใช้ฮัมวีเป็นรถสายตรวจ
- ซูดาน – ยานพาหนะที่ขายโดยสหรัฐภายใต้โครงการการขายให้แก่ฝ่ายทหารของต่างประเทศ[14]
- ซีเรีย – ถูกเข้ายึดโดยรัฐอิสลามอิรักและลิแวนต์[ต้องการอ้างอิง]
- ไต้หวัน – ยานพาหนะที่ขายผ่านโครงการการขายให้แก่ฝ่ายทหารของต่างประเทศ[14] มากกว่า 7,000 คัน[51]
- แทนซาเนีย – ยานพาหนะที่ขายโดยสหรัฐภายใต้โครงการการขายให้แก่ฝ่ายทหารของต่างประเทศ[14]
- ไทย – กองทัพบกไทย (เอ็ม998, เอ็ม1038เอ1, เอ็ม1097เอ1, เอ็ม1037, เอ็ม1042, เอ็ม1025, เอ็ม1026เอ1, เอ็ม966, เอ็ม997, เอ็ม997เอ2)[ต้องการอ้างอิง]
- ตรินิแดดและโตเบโก – ตงเฟิง อีคิว2050 มากกว่า 6 คัน[52]
- ตูนิเซีย – 52 คันบริจาคโดยสหรัฐในเดือนพฤษภาคม ค.ศ. 2015 และบางส่วนขายผ่านโครงการการขายให้แก่ฝ่ายทหารของต่างประเทศ[14]
- ยูเครน – ประมาณ 110 คัน (ตั้งแต่ ค.ศ. 2001) ที่กองพลโจมตีทางอากาศที่ 95[53] และบริจาค 10 คันให้แก่กองกำลังสันติภาพโปแลนด์–ยูเครน (POLUKRBAT) นอกจากนี้ รายงานบอกว่าหลังจากมีผู้ก่อความไม่สงบในยุทธการที่เดบอลท์เซฟ ได้มีการขับในยานพาหนะที่ 'เหมือนฮัมวี'[54][55]
- สหรัฐ – 230,000 คัน[56]
- ยูกันดา[14]
- เยเมน – กว่า 100 คันใช้งานโดยกองทัพแห่งชาติเยเมนเพื่อต่อสู้กับกลุ่มฮูษี มีไม่กี่คันที่ใช้งานโดยกลุ่มฮูษีซึ่งถูกเข้ายึดจากฐานกองกำลังพิเศษเยเมนในซานา[ต้องการอ้างอิง]
การขายพลเรือน
[แก้]ในเดือนธันวาคม ค.ศ. 2014 กระทรวงกลาโหมเริ่มทำการประมูลฮัมวีมือสองประมาณ 4,000 คันออกสู่สาธารณะ ในขณะที่บางส่วนได้รับการโอนไปยังหน่วยงานบังคับใช้กฎหมายในประเทศ นี่เป็นครั้งแรกที่มีการใช้ยานพาหนะทางทหารสำหรับเจ้าของที่เป็นพลเรือน แนวคิดคือการขายพวกเขาด้วยการเสนอราคาเริ่มต้นที่ 10,000 ดอลลาร์ต่อคัน สำหรับการใช้งานออฟโรดเท่านั้น แทนที่จะทิ้งพวกมันไว้ในฐานะวิธีในการประหยัดเงินและนำกลับมาใช้ใหม่ มีฮัมวีรุ่นเอ็ม998, เอ็ม998เอ1, เอ็ม1038 และเอ็ม1038เอ1 จำหน่ายแล้ว ซึ่งไม่ได้ใช้ในราชการทหารสหรัฐและไม่มีเกราะ เอเอ็ม เจเนอรัล ถูกคัดค้านการขายฮัมวีทางทหารให้แก่ประชาชนทั่วไป ส่วนใหญ่เป็นเพราะยานพาหนะของรัฐบาลที่มากเกินไปจะลดยอดขายที่เกี่ยวข้องกับโมเดลฮัมเมอร์พลเรือน ซึ่งการผลิตสิ้นสุดลงในปี ค.ศ. 2010[57] ยอดขายครั้งแรกจากการประมูลเกิดขึ้นเมื่อวันที่ 17 ธันวาคม ค.ศ. 2014 สำหรับ 25 คันของฮัมวี ราคาเสนออยู่ที่ 21,500 ดอลลาร์สำหรับเอ็ม1038 ปี ค.ศ. 1989 ถึง 41,000 ดอลลาร์สำหรับเอเอ็ม เจเนอรัล เอ็ม998เอ1 ปี ค.ศ. 1994 การเสนอราคาเฉลี่ยอยู่ที่ประมาณ 30,000 ดอลลาร์ และการขายยานพาหนะ 25 คันรวมเป็นเงินสุทธิ 744,000 ดอลลาร์[58] ทั้งนี้ โกฟแพลนเน็ตได้ทำสัญญาและขายฮัมวีในการประมูลรายสัปดาห์[59]
อ้างอิง
[แก้]- ↑ Keyes, Charles (28 January 2011). "Steep cost of military vehicles outlined in Army report". CNN. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 16 May 2015. สืบค้นเมื่อ 28 April 2015.
- ↑ "Humvee Symbolizes Coast Guard's Role in War". Military.com. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 3 September 2015. สืบค้นเมื่อ 2013-11-16.
- ↑ Turnbull, Grant (2014-09-30). "End of an icon: the rise and fall of the Humvee". army-technology.com. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 30 October 2014. สืบค้นเมื่อ 2015-01-27.
- ↑ 4.0 4.1 4.2 4.3 HMMWV Features & Design (archived). AM General.
- ↑ 5.0 5.1 5.2 5.3 HMMWV Fact File เก็บถาวร 12 มีนาคม 2008 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน. U.S. Army.
- ↑ HMMWV 6.5L Turbo Engine. www.nsnlookup.com
- ↑ High Mobility Multipurpose Wheeled Vehicle (HMMWV) (M998 Truck) เก็บถาวร 3 กรกฎาคม 2009 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน. fas.org
- ↑ Top Ten Infantry Fighting Vehicles, Humvee (archived). military.discovery.com
- ↑ "HMMWV vs. HUMMER H1". AM General LLC – Amgeneral.com. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 3 พฤศจิกายน 2013. สืบค้นเมื่อ 16 พฤศจิกายน 2013.
- ↑ "Afghan Forces Getting HMMWVs". 26 July 2011. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 18 August 2010. สืบค้นเมื่อ 29 July 2011.
- ↑ U.S. completes M1114 Humvee transfer to Afghan National Army เก็บถาวร 4 มกราคม 2013 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน – Armyrecognition.com, 1 January 2013
- ↑ "Albania gets US military Humvees to bolster its army". Defense News. Tirana. 6 กันยายน 2017. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 8 กันยายน 2017. สืบค้นเมื่อ 8 กันยายน 2017.
- ↑ Fiorenza, Nicholas (12 กันยายน 2017). "US gifts Humvees to Albania". IHS Jane's 360. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 13 กันยายน 2017. สืบค้นเมื่อ 13 กันยายน 2017.
- ↑ 14.00 14.01 14.02 14.03 14.04 14.05 14.06 14.07 14.08 14.09 14.10 14.11 14.12 14.13 14.14 14.15 14.16 14.17 14.18 14.19 14.20 2011 Army Weapon Systems Handbook (PDF) (Report). Office of the Assistant Secretary of the Army for Acquisition, Logistics and Technology. 2011. p. 137. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม (PDF)เมื่อ 5 September 2012. สืบค้นเมื่อ 27 December 2011.
- ↑ "Military parade held in Azerbaijan". news.az. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 1 February 2018. สืบค้นเมื่อ 2018-01-31.
- ↑ "Archived copy". คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 25 September 2018. สืบค้นเมื่อ 19 March 2018.
{{cite web}}
: CS1 maint: archived copy as title (ลิงก์) - ↑ "US donates 44 HMMWV's to Bosnia and Herzegovina". AM General. 27 March 2017. สืบค้นเมื่อ 28 March 2017.
- ↑ "Купуваме 50 Хамъра за Сухопътни войски (in Bulgarian)". Dnevnik.bg. 14 November 2005. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 8 December 2008. สืบค้นเมื่อ 2010-11-27.
- ↑ Pugliese, David (26 พฤศจิกายน 2014). "Special Ops: Wishlist of new gear". Esprit de Corps. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 20 กันยายน 2016. สืบค้นเมื่อ 12 สิงหาคม 2016.
- ↑ Day, Adam (1 May 2014). "Point Blank War: Canada's Special Operations Forces in Close Combat With The Enemy". Legion Magazine. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 21 August 2016. สืบค้นเมื่อ 12 August 2016.
- ↑ "Archived copy". คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 26 September 2007. สืบค้นเมื่อ 13 August 2007.
{{cite web}}
: CS1 maint: archived copy as title (ลิงก์) - ↑ [1] เก็บถาวร 11 มีนาคม 2012 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน
- ↑ Debay, Yves (2004). VBL Panhard (ภาษาฝรั่งเศส). Histoire et collections. p. 121. ISBN 9782913903166.
- ↑ "Archived copy". คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 5 September 2017. สืบค้นเมื่อ 4 September 2017.
{{cite web}}
: CS1 maint: archived copy as title (ลิงก์) - ↑ "Archived copy". คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 10 October 2017. สืบค้นเมื่อ 4 September 2017.
{{cite web}}
: CS1 maint: archived copy as title (ลิงก์) - ↑ "Archived copy" (PDF). คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม (PDF)เมื่อ 29 August 2012. สืบค้นเมื่อ 17 January 2013.
{{cite web}}
: CS1 maint: archived copy as title (ลิงก์) - ↑ "Iraq crisis: UN 'deplores' militants' capture of cities". 12 June 2014. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 5 July 2014. สืบค้นเมื่อ 3 July 2014.
- ↑ "Isis declares caliphate in Iraq and Syria". 30 June 2014. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2 July 2014. สืบค้นเมื่อ 3 July 2014.
- ↑ "Iraq crisis: Isis jihadists 'seize Saddam Hussein's chemical weapons stockpile' – live". 19 June 2014. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2 July 2014. สืบค้นเมื่อ 3 July 2014.
- ↑ "ISIS Attack and capture US Humvees". 17 June 2014. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 9 August 2014. สืบค้นเมื่อ 3 July 2014.
- ↑ Lappin, Yaakov (27 March 2016). "Security and Defence, a Woman's Touch". The Jerusalem Post. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 27 March 2016. สืบค้นเมื่อ 20 March 2018.
- ↑ Peter Van Buren (2 June 2015). "Hezbollah Brigades flaunts US equipment in Anbar operation". Reuters. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2 June 2015. สืบค้นเมื่อ 15 July 2015.
- ↑ Bill Roggio & Kaled Weiss (25 June 2015). "Hezbollah Brigades flaunts US equipment in Anbar operation". Long War Journal. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 13 July 2015. สืบค้นเมื่อ 14 July 2015.
- ↑ "Kazakhstan's News Bulletin". Prosites-kazakhembus.homestead.com. 11 April 2007. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 12 July 2011. สืบค้นเมื่อ 2010-11-27.
- ↑ "US gives Kenya's Security Forces 14 Hummer Military vehicles | Kenya, Political, Ranneberger". Emergingminds.org. 2007-09-12. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 24 July 2011. สืบค้นเมื่อ 2010-11-27.
- ↑ "Humvees Shine Headlights On Kosovo's Controversial Vote On Army". Radio Free Europe/Radio Liberty. 13 December 2008. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 7 March 2019. สืบค้นเมื่อ 8 March 2019.
- ↑ "Archived copy". คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 7 เมษายน 2014. สืบค้นเมื่อ 5 เมษายน 2014.
{{cite web}}
: CS1 maint: archived copy as title (ลิงก์) - ↑ Libyan army has taken delivery of 200 HMMWV Humvees from United States เก็บถาวร 28 กันยายน 2013 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน – Armyrecognition.com, 30 July 2013
- ↑ "Weaponry and technology". คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 13 June 2018. สืบค้นเมื่อ 13 June 2018.
- ↑ Larrinaga, de, Nicholas (20 กุมภาพันธ์ 2017). "Moldovan Army receives more HMMWVs". IHS Jane's 360. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 20 กุมภาพันธ์ 2017. สืบค้นเมื่อ 20 กุมภาพันธ์ 2017.
- ↑ AM General HMMWV Humvee M1151B1 exhibits in SITDEF 2013 เก็บถาวร 15 มิถุนายน 2013 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน – Infodefensa.com, 19 May 2013
- ↑ Partner เก็บถาวร 25 กรกฎาคม 2011 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน, p. 21. 2008.
- ↑ Burr, Llyod (29 August 2012). "NZ troops 'beg for, borrow or steal' decent gear". Newshub. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 22 August 2016. สืบค้นเมื่อ 13 August 2016.
- ↑ "Broken link". คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 6 August 2017. สืบค้นเมื่อ 27 August 2011.
- ↑ "Archived copy". คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 18 July 2018. สืบค้นเมื่อ 18 July 2018.
{{cite web}}
: CS1 maint: archived copy as title (ลิงก์) - ↑ Morgan, Scott. "The U.S. Gives 23 Humvee to the Senegalese Armed Forces". Embassy of the United States in Dakar, Senegal. Dakar. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 20 มกราคม 2017. สืบค้นเมื่อ 29 มกราคม 2017.
- ↑ Bisaccio, Derek (19 January 2017). "Senegalese PTL-02s in this convoy? via @DOlusegun". Twitter. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2 February 2017. สืบค้นเมื่อ 29 January 2017.
- ↑ Javier Sánchez. "Vehículo ligero multipropósito HUMMER" (ภาษาสเปน). Revistanaval.com. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 14 December 2009. สืบค้นเมื่อ 10 March 2010.
- ↑ "Beta News". Beta.rs. 28 พฤษภาคม 2013. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 27 กันยายน 2013. สืบค้นเมื่อ 16 พฤศจิกายน 2013.
- ↑ "US Donation for the Serbian Armed Forces" (Press release). Ministry of defence Republic of Serbia. 1 June 2017. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 6 June 2017. สืบค้นเมื่อ 7 June 2017.
- ↑ "Military to replace its Humvee fleet - Taipei Times". taipeitimes.com. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 28 December 2017. สืบค้นเมื่อ 2017-12-28.
- ↑ "China Delivers 20 MengShi 4×4 army light utility vehicle to Trinidad and Tobago". Army Recognition. 25 June 2015. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 27 July 2017. สืบค้นเมื่อ 27 July 2017.
- ↑ In columns of Ukrainian Airmobile Forces who are deploying around Crimea they were noted to be in American Humvees เก็บถาวร 1 ตุลาคม 2018 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน. Military panorama. 12 March 2014
- ↑ YouTube. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 1 January 2016. สืบค้นเมื่อ 13 May 2016.
- ↑ "Debaltseve Under Rebel Control". 2015-02-19. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 10 October 2017. สืบค้นเมื่อ 2015-02-26.
- ↑ "Archived copy". คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 20 December 2016. สืบค้นเมื่อ 12 December 2016.
{{cite web}}
: CS1 maint: archived copy as title (ลิงก์) - ↑ Surplus Humvee auctions to public a first for DoD – Armytimes.com, 12 December 2014
- ↑ Humvees Sell for up to $42K in First Public Auction of Military Truck เก็บถาวร 18 ธันวาคม 2014 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน – Defensetech.org, 17 December 2014
- ↑ GovPlanet Humvee Marketplace เก็บถาวร 23 มกราคม 2019 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน GovPlanet.com, 22 January 2019.