ข้ามไปเนื้อหา

แมนฮันต์อินเตอร์เนชันแนล

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
แมนฮันต์อินเตอร์เนชั่นแนล
ก่อตั้งพ.ศ. 2536
ประเภทประกวดความงามชาย
สํานักงานใหญ่ซิดนีย์
ที่ตั้ง
ภาษาทางการ
อังกฤษ
ประธาน
รอสโก ดิกคินสัน
เว็บไซต์manhunt.international

แมนฮันต์อินเตอร์เนชั่นแนล (อังกฤษ: Manhunt International) เป็นประกวดความงามระดับนานาชาติของผู้ชายซึ่งเริ่มในปี พ.ศ. 2536 ก่อตั้งในประเทศสิงคโปร์

ผู้ได้รับตำแหน่งคนปัจจุบันคือ อภิสิทธินันท์ เลน ดาโสม จากประเทศไทย[1]

ประวัติ

[แก้]

การประกวดแมนฮันต์ เริ่มต้นขึ้นเมื่อปี พ.ศ. 2530 เมื่อ อเล็กซ์ หลิว ผู้อำนวยการฝ่ายการตลาดของ Exclusive Resources Marketing Pte Ltd, ตัดสินใจที่จะจัดเวทีการประกวดโมเดลชายครั้งแรกในสิงคโปร์เนื่องจากมีการประกวดสตรีและผู้ชายเป็นจำนวนมาก หลิวจึงวางแผนและออกแบบการประกวด แมนฮันต์ ครั้งแรก.

แมนฮันต์ กลายเป็น แมนฮันต์อินเตอร์เนชั่นแนล ในปีพ.ศ. 2536 เป็นครั้งแรกในโกลด์โคสต์ในประเทศออสเตรเลีย ในปีพ.ศ. 2536 เมื่อโทมัส ซัสเซอ ได้รับชัยชนะ แมนฮันต์อินเตอร์เนชั่นแนล ของผู้เข้าร่วม 25 คนแรก ในปีพ.ศ. 2537 การประกวดยังคงอยู่ในโกลด์โคสต์ของออสเตรเลียเมื่อ นิคอส ปาปาดากิส ประเทศกรีซได้รับชัยชนะ การแข่งขัน แมนฮันต์อินเตอร์เนชั่นแนล เป็นความร่วมมือกับคู่ค้าชาวออสเตรเลีย Procon Leisure International Pty Ltd โดย Rosko Dickinson.

หนึ่งในปีที่ประสบความสำเร็จมากที่สุดของการประกวดคือเดือนพฤศจิกายน ในปีพ.ศ. 2538 เมื่อผู้เข้าแข่งขัน 35 รายเดินทางไปที่เกาะเซ็นโตซ่า ประเทศสิงคโปร์เพื่อชิงตำแหน่ง รางวัลเงินสดและรางวัลสำหรับผู้ชนะปี ในปีพ.ศ. 2538 เกินกว่า 90,000 เหรียญ

รูปแบบการประกวด

[แก้]

การประกวดแมนฮันต์อินเตอร์เนชันแนลจะแบ่งออกเป็น 2 รอบคือ รอบพรีลิมมินารี และรอบตัดสิน ระหว่างการประกวดรอบพรีลิมมินารี ผู้เข้าประกวดจะได้รับการตัดสินด้วยชุดประจำชาติ, ชุดว่ายน้ำ, ชุดสูทสากล และชุดแฟชัน ผู้เข้าประกวดที่ได้คะแนนสะสมสูงสุดจากรอบพรีลิมมินารีจะผ่านเข้าสู่รอบตัดสินต่อไป

ในการประกวดรอบตัดสินผู้เข้าประกวด 15 คนจะได้รับเลือกให้เป็นแมนฮันต์อินเตอร์เนชันแนล นอกจากนี้ยังมีรางวัลพิเศษอื่น ๆ อีกหลายรางวัล ได้แก่ ชุดประจำชาติยอดเยี่ยม, เบสท์รันเวย์โมเดล, มิสเตอร์คอนจีเนียลีตี, มิสเตอร์เฟรนด์ชิป, มิสเตอร์เพอร์ซันแนลลีตี, มิสเตอร์ฟิสิกส์ และ มิสเตอร์พ็อพพิวแลริที (ได้รับการโหวตจากประชาชนทางอินเทอร์เน็ต)

ผู้ดำรงตำแหน่ง

[แก้]

ไม่ได้จัดขึ้นในปี ค.ศ. 1996, 2003, 2004, 2009, 2013-2015', 2019, 2021, 2023

ครั้งที่ ปี แมนฮันต์อินเตอร์เนชันแนล รองชนะเลิศ สถานที่จัดประกวด ผู้เข้าประกวด
อันดับที่ 1 อันดับที่ 2 อันดับที่ 3 อันดับที่ 4
1 1993 โทมัส ซัสเซอ
ธงของประเทศเยอรมนี เยอรมนี
Berke Hurcan
ธงของประเทศตุรกี ตุรกี
Raffaele Memoli
ธงของประเทศสวิตเซอร์แลนด์ สวิตเซอร์แลนด์
Aaron Small
ธงของประเทศฟิลิปปินส์ ฟิลิปปินส์
Michel Boeuf
 นิวแคลิโดเนีย
ออสเตรเลีย โกลด์โคสต์, ออสเตรเลีย 22
2 1994 นิคอส ปาปาดาคิส
ธงของประเทศกรีซ กรีซ
Trent Garfthon
ธงของประเทศออสเตรเลีย ออสเตรเลีย
Richard Planks
 สหรัฐอเมริกา
Benedict Goh Wei Cheh
 สิงคโปร์
Rajat Bedi
ธงของประเทศอินเดีย อินเดีย
24
3 1995 อัลแบ เจลเดนฮุยส์
ธงของประเทศแอฟริกาใต้ แอฟริกาใต้
Dino Morea
ธงของประเทศอินเดีย อินเดีย
David Arnold
 สหรัฐอเมริกา
Javier Rodriguez
ธงของปวยร์โตรีโก ปวยร์โตรีโก
Rinat Khismatouli
ธงของประเทศคาซัคสถาน คาซัคสถาน
สิงคโปร์ เกาะเซนโตซา, สิงคโปร์ 35
4 1997 เจสัน เออร์เซก
ธงของประเทศนิวซีแลนด์ นิวซีแลนด์
Sandro Finnoglio Speranza
ธงของประเทศเวเนซุเอลา เวเนซุเอลา
Vincent Pinto
ธงของประเทศฟิลิปปินส์ ฟิลิปปินส์
Jonathan Rojas Ortega
ธงของปวยร์โตรีโก ปวยร์โตรีโก
Zulfi Syed Ahmad
ธงของประเทศอินเดีย อินเดีย
สิงคโปร์ สิงคโปร์ 38
5 1998 ปีเตอร์ อีริคเซิน
ธงของประเทศสวีเดน สวีเดน
Tamme Boh Tjarks
ธงของประเทศเยอรมนี เยอรมนี
Robert Korceki
 สหรัฐอเมริกา
Philip Lee
 สิงคโปร์
Rets Renemaris
ธงของประเทศลัตเวีย ลัตเวีย
ออสเตรเลีย โกลด์โคสต์, ออสเตรเลีย 34
6 1999 เอร์เนสโต กัลซาดียา
ธงของประเทศเวเนซุเอลา เวเนซุเอลา
John Abraham
ธงของประเทศอินเดีย อินเดีย
Peter Kerby
ธงของประเทศเดนมาร์ก เดนมาร์ก
Kirk Hedley
ธงของประเทศจาเมกา จาเมกา
Llewellyn Cordier
ธงของประเทศแอฟริกาใต้ แอฟริกาใต้
ฟิลิปปินส์ มะนิลา, ฟิลิปปินส์
7 2000 เบร็ตต์ วิลสัน
ธงของประเทศออสเตรเลีย ออสเตรเลีย
David Zepeda
ธงของประเทศเม็กซิโก เม็กซิโก
Brandon Choo
 สิงคโปร์
José Gabriel Madonía Panepinto
ธงของประเทศเวเนซุเอลา เวเนซุเอลา
Geraldino Nicolina
 กูราเซา
สิงคโปร์ สิงคโปร์ 33
8 2001 ราจีฟ สิงห์[2]
ธงของประเทศอินเดีย อินเดีย
Leo Zhang Wei Biao
ธงของประเทศจีน จีน
Luis Antonio Nery Gomez
ธงของประเทศเวเนซุเอลา เวเนซุเอลา
Adnan Taletovic
ธงของประเทศโครเอเชีย โครเอเชีย
Kenneth Bryan
ธงของหมู่เกาะเคย์แมน หมู่เกาะเคย์แมน
จีน ปักกิ่ง, จีน 43
9 2002 ฟาบริซ วาเตซ
ธงของประเทศฝรั่งเศส ฝรั่งเศส
Bart Deschuymer
ธงของประเทศเบลเยียม เบลเยียม
Murat Erbaytan
ธงของประเทศตุรกี ตุรกี
Adrian Medina Scull
ธงของประเทศคิวบา คิวบา
Daniel Navarrete Muktans
ธงของประเทศเวเนซุเอลา เวเนซุเอลา
จีน เซี่ยงไฮ้, จีน 46
10 2005 ทอลกาฮัน ซายึชมัน
ธงของประเทศตุรกี ตุรกี
Agris Blaubuks
ธงของประเทศลัตเวีย ลัตเวีย
Henry Romero
 กูราเซา
Chen ZeYu
ธงของประเทศจีน จีน
Romeo Quiñones
ธงของปวยร์โตรีโก ปวยร์โตรีโก
เกาหลีใต้ ปูซาน, เกาหลี 42
11 2006 ไฮเม ออกัสโต มายอล
 สหรัฐอเมริกา
Fabien Hauquier
ธงของประเทศเบลเยียม เบลเยียม
Zhao Zheng
ธงของประเทศจีน จีน
Gokhan Keser
ธงของประเทศตุรกี ตุรกี
Jose Mendez
ธงของประเทศสเปน สเปน
จีน จิ้นเจียง, จีน 53
12 2007 เจฟฟรีย์ เจิ้ง ยฺหวี่ กวง
ธงของประเทศจีน จีน
Jason Charles Millot
ธงของประเทศแคนาดา แคนาดา
Ioannis Athitakis
ธงของประเทศกรีซ กรีซ
Craig Barnett
ธงของประเทศออสเตรเลีย ออสเตรเลีย
Abhimanyu Jain
ธงของประเทศอินเดีย อินเดีย
เกาหลีใต้ คังว็อน, เกาหลี 48
13 2008 อับเดลมูแมน เอล แมกฮาวี
ธงของประเทศโมร็อกโก โมร็อกโก
Egill Arnljots
ธงของประเทศสวีเดน สวีเดน
Cesar Vegas
ธงของประเทศคอสตาริกา คอสตาริกา
Lee Jae-Hwan
ธงของประเทศเกาหลีใต้ เกาหลีใต้
Claudio Furtado
ธงของประเทศแองโกลา แองโกลา
เกาหลีใต้ โซล, เกาหลี 47
14 2010 ปีเตอร์ เมนกี
ธงของประเทศสโลวาเกีย สโลวาเกีย
Bogdan Brasoveanu
ธงของยิบรอลตาร์ ยิบรอลตาร์
Marlon de Gregori
ธงของประเทศบราซิล บราซิล
Daniel Guerra
 สหรัฐอเมริกา
Jerry Chang
ธงของสาธารณรัฐจีน ไต้หวัน
ไต้หวัน ไถจง, ไต้หวัน 50
15 2011 เฉิน เจียง เฟิง
ธงของประเทศจีน จีน
Nelson Omar Sterling
ธงของสาธารณรัฐโดมินิกัน สาธารณรัฐโดมินิกัน
Gianni Sinnesael
ธงของประเทศเบลเยียม เบลเยียม
Truong Nam Thanh
ธงของประเทศเวียดนาม เวียดนาม
Martin Smahel
ธงของประเทศสโลวาเกีย สโลวาเกีย
เกาหลีใต้ โซล, เกาหลี 48
16 2012 จูน มากาซาเอ็ต
ธงของประเทศฟิลิปปินส์ ฟิลิปปินส์
Bo Peter Jonsson
ธงของประเทศสวีเดน สวีเดน
Martin Wang
ธงของมาเก๊า มาเก๊า
Jimmy Perez Rivera
ธงของปวยร์โตรีโก ปวยร์โตรีโก
Jason Chee
 สิงคโปร์
ไทย กรุงเทพมหานคร, ไทย 53
17 2016 พาทริก เชอ
ธงของประเทศสวีเดน สวีเดน
Ba Te Er
ธงของเขตปกครองพิเศษฮ่องกง ฮ่องกง
Christopher Bramell
 อังกฤษ
Maurício Eusébio
ธงของประเทศแองโกลา แองโกลา
Ramon Pissaia
ธงของประเทศบราซิล บราซิล
จีน เซินเจิ้น, จีน 43
18 2017 เจือง หง็อก ติ่ญ
ธงของประเทศเวียดนาม เวียดนาม
Kongnat Choeisuwan
 ไทย
Gaetan Osman
ธงของประเทศเลบานอน เลบานอน
Mohamed Wazeem
ธงของประเทศศรีลังกา ศรีลังกา
Andry Permadi
ธงของประเทศอินโดนีเซีย อินโดนีเซีย
ไทย กรุงเทพมหานคร, ไทย 37
19 2018 บีเซนต์ กอนซาเลซ
ธงของประเทศสเปน สเปน
Dale Maher
ธงของประเทศออสเตรเลีย ออสเตรเลีย
Luca Derin
ธงของประเทศเนเธอร์แลนด์ เนเธอร์แลนด์
Jeffrey “Jeff” Langan
ธงของประเทศฟิลิปปินส์ ฟิลิปปินส์
Mai Tuan Anh
ธงของประเทศเวียดนาม เวียดนาม
ออสเตรเลีย โกลด์โคสต์, ออสเตรเลีย 28
20 2020 พอล ลูซิเนียล
ธงของประเทศเนเธอร์แลนด์ เนเธอร์แลนด์
Nikos Antonopoulos
ธงของประเทศกรีซ กรีซ
Matheus Cruz Giora
ธงของประเทศบราซิล บราซิล
Yeray Hidalgo Hernández
ธงของประเทศสเปน สเปน
Mayur Gangwani
ธงของประเทศอินเดีย อินเดีย
ฟิลิปปินส์ มะนิลา, ฟิลิปปินส์ 36
21 2022 ล็อกกี แครี
ธงของประเทศออสเตรเลีย ออสเตรเลีย
Joshua Raphael De Sequera
ธงของประเทศฟิลิปปินส์ ฟิลิปปินส์
Elijah Van Zanten
 สหรัฐอเมริกา
Trần Mạnh Kiên
ธงของประเทศเวียดนาม เวียดนาม
Cas Hagman
ธงของประเทศเนเธอร์แลนด์ เนเธอร์แลนด์
33
22 2024[a][b] อภิสิทธินันท์ เลน ดาโสม
 ไทย
Lucas Schlachter
ธงของประเทศฝรั่งเศส ฝรั่งเศส
Kenneth Stromsnes
ธงของประเทศฟิลิปปินส์ ฟิลิปปินส์
Víctor Michele Battista Infante
ธงของประเทศเวเนซุเอลา เวเนซุเอลา
Vincenzo Melisi
ธงของประเทศอิตาลี อิตาลี
ไทย พระนครศรีอยุธยา, ไทย 37

หมายเหตุ

  1. ตั้งแต่ปี 2023 ได้มีการเพิ่มรองชนะเลิศอันดับ 5-9 เนื่องในโอกาศครบรอบ 30 ปี แมนฮันต์อินเตอร์เนชันแนล
  2. รองอันดับ 5 สเปน – Daniel Lorente รองอันดับ 6 แคนาดา – Matt Dixon รองอันดับ 7 สวิตเซอร์แลนด์ – Marcel Riera รองอันดับ 8 บราซิล – Ruan Mendes รองอันดับ 9 แอฟริกาใต้ – Luke Van

รางวัลพิเศ

[แก้]

ตัวแทนประเทศไทย

[แก้]
ปี ผู้ดำรงตำแหน่ง จังหวัด ตำแหน่งในการประกวด รางวัลพิเศษ
2024 อภิสิทธินันท์ เลน ดาโสม เชียงใหม่ แมนฮันต์อินเตอร์เนชันแนล 2024
1 Special Awards
  • - เบสท์รันเวย์ดิจิทัลชาเลนจ์
2022 ภากร รอดขำปิยเศรษฐ์ ขอนแก่น ไม่ผ่านเข้ารอบ
2020 สิทธิพงษ์ อิ่มเสถียร กาฬสินธุ์ เข้ารอบ 16 คน สุดท้าย
1 Special Awards
  • - ขวัญใจช่างภาพ
2018 รัฐนันท์ สุขอุบล สงขลา ไม่ผ่านเข้ารอบ
1 Special Awards
  • - ขวัญใจช่างภาพ
2017 คงณัฐ เชยสุวรรณ สมุทรปราการ รองอันดับ 1
1 Special Awards
  • - เบสท์เฟอร์ฟอร์แมนซ์
2016 พิรัฐพงศ์ มูลตรีบุตร อุดรธานี เข้ารอบ 16 คนสุดท้าย
2 Special Awards
  • - ชุดประจำชาติยอดเยี่ยม
    - มิสเตอร์อินเทอร์เน็ต
2012 มุขพล โปษกะบุตร กรุงเทพมหานคร เข้ารอบ 15 คนสุดท้าย
2011 กฤษกร โล้เจริญรัตน์ กรุงเทพมหานคร ไม่ผ่านเข้ารอบ
2010 ณัฐกร ศรีวิชัย กรุงเทพมหานคร ไม่ผ่านเข้ารอบ
2008 ธนาวุฒิ นันทะริด กรุงเทพมหานคร ไม่ผ่านเข้ารอบ
2007 วชรกรณ์ ไวยศิลป์ กรุงเทพมหานคร ไม่ผ่านเข้ารอบ
2002 วีระยุทธ พูลขำ กรุงเทพมหานคร ไม่ผ่านเข้ารอบ
2000 โสภณ สุขอนันต์ กรุงเทพมหานคร ไม่ผ่านเข้ารอบ
1998 สมชาย พิพัฒน์นุกูล กรุงเทพมหานคร ไม่ผ่านเข้ารอบ
1997 ชัยยศ สร้อยสน กรุงเทพมหานคร ไม่ผ่านเข้ารอบ
1995 วัชรเกียรติ บุญภักดี กรุงเทพมหานคร เข้ารอบ 12 คนสุดท้าย

ดูเพิ่ม

[แก้]

อ้างอิง

[แก้]
  1. ""เควิน อภิสิทธินันท์" คว้าตำแหน่ง 'MANHUNT INTERNATIONAL 2024'". สยามรัฐ. 2024-05-26.
  2. Business India, Issues 615-620, A.H. Advani, 2001, p. 160

แหล่งข้อมูลอื่น

[แก้]