ข้ามไปเนื้อหา

มิสเตอร์อินเตอร์เนชันแนล

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
มิสเตอร์อินเตอร์เนชันแนล
ก่อตั้ง2006; 18 ปีที่แล้ว (2006)
ประเภทการประกวดความงาม
สํานักงานใหญ่ไทย
ที่ตั้ง
ประธาน
ประดิษฐ์ ประดินันทน์
เว็บไซต์เว็บไซต์อย่างเป็นทางการ

มิสเตอร์อินเตอร์เนชันแนล (อังกฤษ: Mister International) เป็นการประกวดความงามชายก่อตั้งขึ้นในปี ค.ศ. 2006 ได้รับการจัดขึ้นเป็นประจำทุกปี การประกวดได้รับการดำเนินการโดยองค์กรมิสเตอร์อินเตอร์เนชันแนล ซึ่งยังเป็นผู้รับผิดชอบการประกวดมิสเตอร์สิงคโปร์[1] ตั้งแต่ครั้งแรกมี 76 ประเทศได้ส่งตัวแทนเข้าการประกวดนี้ โดยเฉลี่ยมีผู้เข้าประกวด 31 คน[2]

ปัจจุบันมิสเตอร์อินเตอร์เนชันแนลคือธิติสรรค์ กู้ดเบิร์น จากประเทศไทย[3]

ผู้ชนะการประกวดในช่วงไม่กี่ปี

[แก้]

By Mister International Organization

[แก้]
ปี มิสเตอร์อินเตอร์เนชันแนล รองชนะเลิศ สถานที่จัดประกวด ผู้เข้าประกวด
อันดับที่ 1 อันดับที่ 2 อันดับที่ 3 อันดับที่ 4 อันดับที่ 5
2006 วิชแซม ฮันนา
ธงของประเทศเลบานอน เลบานอน
Erbert Javier Delgado
 เวเนซุเอลา
Konstantinos Avrampos
 กรีซ
Karlis Karolis
 ลัตเวีย
Chaka Sedgwick
 สหรัฐ
ไม่มีผู้ได้รับรางวัล สิงคโปร์ สิงคโปร์ 19
2007 อลัน บีอันโก มาร์ชีนี
ธงของประเทศบราซิล บราซิล
Oh Jong Sung
 เกาหลี
Aristotelis Bolovinos
 กรีซ
Alberto García Gómez
 เวเนซุเอลา
Bassel Mohammad Abou
 เลบานอน
ไม่มีผู้ได้รับรางวัล มาเลเซีย กูจิง, มาเลเซีย 17
2008 โง เตี๊ยน ดว่าน
ธงของประเทศเวียดนาม เวียดนาม
Mohamad Chamseddine
 เลบานอน
Zhang Lun Shuo
 จีน
Mihovil Barun
 โครเอเชีย
Vincent Cleuren
 เนเธอร์แลนด์
ไม่มีผู้ได้รับรางวัล สาธารณรัฐจีน ไถหนาน, ไต้หวัน 30
2009 บรูโน เกตเทลส์
ธงของประเทศโบลิเวีย โบลิเวีย
Hector Soria
 สเปน
Maxime Thomasset
 เลบานอน
Maxime Thomasset
 ฝรั่งเศส
Sebastian Strzepka
 โปแลนด์
ไม่มีผู้ได้รับรางวัล สาธารณรัฐจีน ไถจง, ไต้หวัน 29
2010 ไรอัน เทอร์รี
 บริเตนใหญ่
Caio Lucius Ribeiro
 บราซิล
Luis Alberto Macías
 สเปน
Thomas Sebastian
 อินโดนีเซีย
Leodion Sulaj
 กรีซ
ไม่มีผู้ได้รับรางวัล อินโดนีเซีย จาการ์ตา, อินโดนีเซีย 40
2011 เซซาร์ กูร์ชี
 บราซิล
Martin Gardavsky
 เช็กเกีย
Steven Yoswara
 อินโดนีเซีย
Le Khoi Nguyen
 เวียดนาม
Marco Djelevic Virriat
 สวีเดน
ไม่มีผู้ได้รับรางวัล ไทย กรุงเทพมหานคร, ไทย 33
2012 อาลี ฮัมหมัด (ลาออก)
ธงของประเทศเลบานอน เลบานอน
รอน เทห์ (แทน)
 สิงคโปร์
Marko Sobot
 สโลวีเนีย
Ricardo Magrino
 บราซิล
Ján Haraslín
 สโลวาเกีย
ไม่มีผู้ได้รับรางวัล 38
2013 โชเซ อันเม ปาเรเดส
ธงของประเทศเวเนซุเอลา เวเนซุเอลา
Albern Sultan
 อินโดนีเซีย
Jhonatan Marko
 บราซิล
Hans Briseño
 เม็กซิโก
Gil Wagas
 ฟิลิปปินส์
Antonin Beránek
 เช็กเกีย
อินโดนีเซีย จาการ์ตา, อินโดนีเซีย 38
2014 นีล เปเรซ
ธงของประเทศฟิลิปปินส์ ฟิลิปปินส์
Rabih El Zein
ธงของประเทศเลบานอน เลบานอน
Tomas Dumbrovsky
 เช็กเกีย
Rafal Maslak
 โปแลนด์
Mitja Nadizar
 สโลวีเนีย
ไม่มีผู้ได้รับรางวัล เกาหลีใต้ อันซัน, เกาหลีใต้ 29
2015 เปโดร เมนเดส
ธงของประเทศสวิตเซอร์แลนด์ สวิตเซอร์แลนด์
Anderson Tomazini
 บราซิล
Sang Jin Lee
 เกาหลี
Julian Javier Torres
 ปานามา
Jakub Kraus
 เช็กเกีย
ไม่มีผู้ได้รับรางวัล ฟิลิปปินส์ มะนิลา, ฟิลิปปินส์ 36
2016 พอล อิสกันดาร์
ธงของประเทศเลบานอน เลบานอน
Masaya Yamagishi
 ญี่ปุ่น
Vinicio Modolo
 อิตาลี
ไม่มีผู้ได้รับรางวัล ไทย กรุงเทพมหานคร, ไทย 35
2017 อี ซึง-ฮวัน
 เกาหลี
Manuel Molano
 โคลอมเบีย
Dwayne Geldenhuis
 แอฟริกาใต้
ไม่มีผู้ได้รับรางวัล ประเทศพม่า ย่างกุ้ง, เมียนมา 36
2018 จิ่ญ วัน บ๋าว[4]
ธงของประเทศเวียดนาม เวียดนาม
Francesco Piscitelli
 เวเนซุเอลา
Waikin Kwan
 ฮ่องกง
ไม่มีผู้ได้รับรางวัล ฟิลิปปินส์ ปาไซ, ฟิลิปปินส์ 39
2019

2021
งดจัดการประกวด เนื่องจากสถานการณ์ไวรัสโควิด-19
2022 มานู ฟรังโก
 สาธารณรัฐโดมินิกัน
Lukanand Kshetrimayum
 อินเดีย
Orangel Dirinot
 เวเนซุเอลา
Jason Li
 ฮ่องกง
Myron Jude Ordillano
 ฟิลิปปินส์
Juan Pablo Colias
 สเปน
ฟิลิปปินส์ เกซอนซิตี, ฟิลิปปินส์ 35
2023 ธิติสรรค์ กู้ดเบิร์น[3]
 ไทย
William Badell
 เวเนซุเอลา
Edward Ogunniya
 บราซิล
ไม่มีผู้ได้รับรางวัล ไทย กรุงเทพมหานคร, ไทย 36

เรียงลำดับสัญชาติของผู้ชนะเลิศ

[แก้]
ประเทศ จำนวน ปีที่ชนะ
 เลบานอน 3 2006, 2012, 2016
ธงของประเทศเวียดนาม เวียดนาม 2 2008, 2018
ธงของประเทศบราซิล บราซิล 2007, 2011
 ไทย 1 2023
 สาธารณรัฐโดมินิกัน 2022
 เกาหลี 2017
 สวิตเซอร์แลนด์ 2015
ธงของประเทศฟิลิปปินส์ ฟิลิปปินส์ 2014
ธงของประเทศเวเนซุเอลา เวเนซุเอลา 2013
 สิงคโปร์ 2012
 บริเตนใหญ่ 2010
ธงของประเทศโบลิเวีย โบลิเวีย 2009

ตัวแทนประเทศไทย

[แก้]
ปี ผู้ดำรงตำแหน่ง จังหวัด ตำแหน่งในการประกวด รางวัลพิเศษ
2024 ชุติพงศ์ พุทธรักษ์ กรุงเทพมหานคร TBA TBA
2023 ธิติสรรค์ กู้ดเบิร์น กรุงเทพมหานคร มิสเตอร์อินเตอร์เนชันแนล 2023
1 Special Awards
  • - ชุดประจำชาติยอดเยี่ยม
2022 สุรศักดิ์ เมืองแก้ว ลำพูน เข้ารอบ 10 คนสุดท้าย
1 Special Awards
  • - มิสเตอร์โฟโตจีนิค
2020 ไกรวิชญ์ คุมมงคล อุบลราชธานี ไม่มีการจัดประกวดเนื่องจากสถานการณ์โควิด-19
2019 นิค โนลเท กรุงเทพมหานคร เข้ารอบ 10 คนสุดท้าย
2 Special Awards
  • - มิสเตอร์แบดแล็บอินเตอร์เนชันแนล
    - พีสอินเตอร์เนชันแนลแอมบาสซาเดอร์
2017 พงศ์สรรค์ สุวรรณลิวงศ์ ปัตตานี ไม่ผ่านเข้ารอบ
1 Special Awards
  • - ชุดประจำชาติยอดเยี่ยม
2016 กิตติคุณ ตันสุหัส เชียงใหม่ เข้ารอบ 6 คนสุดท้าย
1 Special Awards
  • - ขวัญใจชาวนครราชสีมา
2015 ชลภณ การวัตนี นนทบุรี ไม่ผ่านเข้ารอบ
2014 วิทวัส ศรีเกษ มหาสารคาม เข้ารอบ 10 คนสุดท้าย
2013 วรภพ คล้ายสังข์ กรุงเทพมหานคร ไม่ผ่านเข้ารอบ
2012 ปิยะนัส สุจริต สมุทรปราการ เข้ารอบ 16 คนสุดท้าย
1 Special Awards
  • - มิสเตอร์คอนจีเนียลีตี
2011 ดิเรก ศิลป์ดำรงศรี ตาก ไม่ผ่านเข้ารอบ
1 Special Awards
  • - ชุดประจำชาติยอดเยี่ยม
2010 ชัยวัฒน์ ทองแสง[5] ปทุมธานี ไม่สามารถเข้าร่วมการประกวดได้
2009 ชานนท์ แซ่ตั้ง กรุงเทพมหานคร ไม่ผ่านเข้ารอบ

ผู้ชนะการประกวดในช่วง 1998 - 2003

[แก้]

Organized by Graviera (India-Based)

Grasim Mr. International จัดโดย Graviera บริษัทเสื้อผ้าผู้ชายในอินเดีย เริ่มขึ้นในปี 1998 และจัดขึ้นเป็นประจำทุกปีในอินเดีย จนถึงปี 2003 เมื่อจัดในลอนดอน งานดังกล่าวไม่ได้จัดขึ้นตั้งแต่นั้นมา และถูกแทนที่ ด้วย Mister International

ปี มิสเตอร์อินเตอร์เนชันแนล รองชนะเลิศ สถานที่จัดประกวด ผู้เข้าประกวด
อันดับที่ 1 อันดับที่ 2
1998 มาริโอ้ คาร์บาญโญ่
ธงของประเทศคอสตาริกา คอสตาริกา
Hasan Yalnizoglu
 ตุรกี
Tamme Boh Tjarks
 เยอรมนี
อินเดีย ชัยปุระ, อินเดีย 23
1999 นาดีร์ เนรี จิยูคิช
ธงของประเทศเวเนซุเอลา เวเนซุเอลา
James Ghoril
 เลบานอน
Abhijit Sanyal
ธงของประเทศอินเดีย อินเดีย
อินเดีย นิวเดลี, อินเดีย 24
2000 อาเรียน เวท
ธงของประเทศอินเดีย อินเดีย
Jorge Pascual
 เม็กซิโก
Xu Chong
 จีน
อินเดีย โชธปุระ, อินเดีย 25
2001 อเล็กซานเดอร์ อาร์โนลด์
ธงของประเทศฟิลิปปินส์ ฟิลิปปินส์
Anibal Martignani Pérez
ธงของประเทศเวเนซุเอลา เวเนซุเอลา
Leroy Vissers
 เนเธอร์แลนด์
อินเดีย อุทัยปุระ, อินเดีย 36
2002 รากู มูเคอร์จี
ธงของประเทศอินเดีย อินเดีย
Julio César Cabrera Mendieta
ธงของประเทศเวเนซุเอลา เวเนซุเอลา
Odysseus Karouis
 กรีซ
อินเดีย บังคาลอร์, อินเดีย 26
2003 วิลเลียม เคลลี
ชัรญะฮ์, ยูเออี
Rajneesh Duggal
ธงของประเทศอินเดีย อินเดีย
Shaun Paul Cuthbert
 สิงคโปร์
อังกฤษ ลอนดอน, อังกฤษ 32

อ้างอิง

[แก้]
  1. Zavala, Jorge G. (15 May 2013). "Alan Sim of the Mister International and Mister Singapore Pageants discusses Chicago, Southeast Asian Hospitality, and Mister International 2013". @PRESTIGEDUMONDE. Prestige du Monde (PdM). สืบค้นเมื่อ 2015-07-21.
  2. "Lists (Mister International country participation lists)". Pageantopolis. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2017-02-03. สืบค้นเมื่อ 2015-07-21.
  3. 3.0 3.1 Donovan, Joshua (29 September 2023). "Kim Goodburn May Have The Crown, But The Audience Are The Real Winners: Mister International 2023 Wraps Up". DNA Magazine (ภาษาอังกฤษ). คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 29 September 2023. สืบค้นเมื่อ 15 February 2024.
  4. "Mister International on Instagram: "ICONS ⭐️ 2018 Vietnam 🇻🇳 @trinhbao444 2017 Korea 🇰🇷 @2sh_____ 2014 Philippines 🇵🇭 @neil23perez 2013 Venezuela 🇻🇪 @joseanmer Photography by @MissPawee Suits designed by Julius Pegarro, Vin Orias and Philip Torres Footwear by Jojo Bragais Grooming by Julius Siscar Orpiano of David's Salon Styling by @Vheecostyle of StyleItPH Assisted by Juancho Buendia Location at Goshen Resort in Bamban, Tarlac"". Instagram.
  5. "2010 CONTESTANTS". คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2018-01-08. สืบค้นเมื่อ 2017-04-25.


แหล่งข้อมูลอื่น

[แก้]