ข้ามไปเนื้อหา

เส้นเวลาการสำรวจระบบสุริยะ

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี

นี่คือ เส้นเวลาการสำรวจระบบสุริยะ เรียงตามวันปล่อยยานอวกาศ

ในช่วงทศวรรษ 1940

[แก้]
รูปถ่ายแรกจากอวกาศ
ชื่อภารกิจ วันที่เริ่มภารกิจ รายละเอียดภารกิจ อ้างอิง
สหรัฐ จรวดวี-2 24 ตุลาคม 1946 จรวดลำแรกที่ถ่ายภาพโลกจากอวกาศ [1]

ช่วงทศวรรษ 1950

[แก้]
สปุตนิก 1 – ยานอวกาศที่โคจรรอบโลกเป็นลำแรก
ชื่อภารกิจ วันที่เริ่มภารกิจ รายละเอียดภารกิจ อ้างอิง
สหภาพโซเวียต สปุตนิก 1 4 ตุลาคม 1957 ยานอวกาศที่โคจรรอบโลกลำแรก [2][3]
สหภาพโซเวียต สปุตนิก 2 3 พฤศจิกายน 1957 โคจรรอบโลก, พร้อมสิ่งมีชีวิตตัวแรก คือ สุนัข ชื่อ ไลก้า [3][4][5]
สหรัฐ เอ็กซ์พลอเรอร์ 1 1 กุมพาพันธ์ 1958 เป็นยานที่โคจรรอบโลกเป็นลำแรกของสหรัฐอเมริกา, ยานลำนี้ได้ค้นพบ เข็มขัดการแผ่นรังสี แวน อัลเลน [6]
สหรัฐ แวนการ์ด 1 17 มีนาคม 1958 เป็นยานที่ยังคงโคจรรอบโลกอยู่ [7]
สหภาพโซเวียต ลูนา 1 2 January 1959 ยานที่โคจรผ่านดวงจันทร์ครั้งแรก [8][9][10][11]
สหรัฐ ไพโอเนียร์ 4 3 March 1959 ยานโคจรผ่านดวงจันทร์ [12][13]
สหภาพโซเวียต ลูนา 2 12 September 1959 เป็นยานที่ตั้งใจชนกับดวงจันทร์ครั้งแรก [11][14]
สหภาพโซเวียต ลูนา 3 4 October 1959 ยานโคจรผ่านดวงจันทร์และได้ถ่าย ภาพระยะไกลของด้านข้างดวงจันทร์ [11][15]

ช่วงทศวรรษ 1960

[แก้]
วอสต็อก 1 – โคจรรอบโลกพร้อมมนุษย์ครั้งแรก
มารีนเนอร์ 2 – โคจรผ่านดาวศุกร์ครั้งแรก
มารีนเนอร์ 4 – โคจรผ่านดาวอังคารครั้งแรก


เซินด์ 5 – ยานลำแรกที่โคจรผ่านดวงจันทร์และกลับมายังโลก
อะพอลโล่ 8 - การโคจรรอบดวงจันทร์พร้อมมนุษย์ครั้งแรก
อะพอลโล่ 11 – การลงจอดบนดวงจันทร์พร้อมมนุษย์ครั้งแรก

1960

  • สหรัฐ ไพโอเนียร์ 5 – 11 มีนาคม 1960 – การสำรวจดาวเคราะห์ชั้นในเป็นครั้งแรก

1961

  • สหภาพโซเวียต สปุตนิก 7 – 4 กุมภาพันธ์ 1961 – ยานลำนี้ได้พยายามชนกับ ดาวศุกร์ (แต่ล้มเหลวที่จะออกไปจากวงโคจรของโลก)
  • สหภาพโซเวียต เวเนรา 1 – 12 กุมภาพันธ์ 1961 – ยานลำนี้ได้โคจรผ่านดาวศุกร์ (การติดต่อหายไปหลังจากโคจรผ่านดาวศุกร์)
  • สหภาพโซเวียต วอสต็อก 1 – 12 เมษายน 1961 – เป็นยานลำแรกที่บรรจุคนขึ้นสู่อวกาศ
  • สหรัฐ เมอร์คิวรี-เรดสโตน 3 – 5 พฤษภาคม 1961 – เป็นยานลำแรกที่บรรจุคนอเมริกาขึ้นสู่อวกาศ
  • สหรัฐ เรนเจอร์ 1 – 23 สิงหาคม 1961 – พยายามทดสอบเที่ยวบินไปดวงจันทร์
  • สหรัฐ เรนเจอร์ 2 – 18 พฤศจิกายน 1961 – พยายามทดสอบเที่ยวบินไปดวงจันทร์

1962

  • สหรัฐ เรนเจอร์ 3 – 26 มกราคม 1962 – พยายามที่จะให้ยานชนกับดวงจันทร์ (ล้มเหลวที่จะชนดวงจันทร์)
  • สหรัฐ เมอร์คิวรี-แอตลาส 6 – 20 กุมภาพันธ์ 1962 – ชาวอเมริกาคนแรกได้ขึ้นไปกับยานลำนี้เพื่อโคจรรอบโลก
  • สหรัฐ เรนเจอร์ 4 – 23 เมษายน 1962 – ยานลำนี้ได้พุ่งชนดวงจันทร์ (ไม่ตั้งใจชนกับดวงจันทร์และไม่มีข้อมูลกลับมา)
  • สหภาพโซเวียต สปุตนิก 19 – 25 สิงหาคม 1962 – ยานลำนี้ได้พยายามจะลงจอดบนดาวศุกร์ (แต่ล้มเหลวที่จะออกไปจากวงโคจรของโลก)
  • สหรัฐ มารีนเนอร์ 2 – 27 สิงหาคม 1962 – ยานลำนี้ได้ประสบความสำเร็จในการโคจรผ่านดาวเคราะห์ชั้นในเป็นครั้งแรกโดยโคจรผ่านดาวศุกร์เป็นครั้งแรก
  • สหภาพโซเวียต สปุตนิก 20 – 1 กันยายน 1962 – ยานลำนี้ได้พยายามจะลงจอดบนดาวศุกร์ (แต่ล้มเหลวที่จะออกไปจากวงโคจรของโลก)
  • สหภาพโซเวียต สปุตนิก 21 – 12 กันยายน 1962 – ยานลำนี้ได้โคจรผ่านดาวศุกร์ (แต่ระเบิด)
  • สหรัฐ เรนเจอร์ 5 – 18 ตุลาคม 1962 – พยายามที่จะให้ยานชนกับดวงจันทร์ (ล้มเหลวที่จะชนดวงจันทร์)
  • สหภาพโซเวียต สปุตนิก 22 – 24 ตุลาคม 1962 – พยายามที่จะให้ยานโคจรผ่านดาวอังคาร (แต่ระเบิด)
  • สหภาพโซเวียต มาร์ส 1 – 1 พฤศจิกายน 1962 – ยานลำนี้ได้โคจรผ่านดาวอังคารเป็นครั้งแรก (แต่สูญเสียการติดต่อไป)
  • สหภาพโซเวียต สปุตนิก 24 – 4 พฤศจิกายน 1962 – ยานลำนี้พยายามจะลงจอดบนดาวอังคาร (แต่เกิดความเสียหายแล้วพัง)

1963

  • สหภาพโซเวียต สปุตนิก 25 – 4 มกราคม 1963 – ยานลำนี้ได้พยายามจะลงจอดบนดวงจันทร์ (แต่ล้มเหลวที่จะออกไปจากวงโคจรของโลก)
  • สหภาพโซเวียต ลูนา 4 – 2 เมษายน 1963 – ยานลำนี้ได้พยายามจะลงจอดบนดวงจันทร์ (missed Moon)
  • สหภาพโซเวียต คอสมอส 21 – 11 พฤศจิกายน 1963 – พยายามทดสอบเที่ยวบินของเวเนรา

1964

  • สหรัฐ เรนเจอร์ 6 – 30 มกราคม 1964 – ยานลำนี้พุ่งชนกับดวงจันทร์ (แต่เกิดความผิดพลาดของกล้อง)
  • สหภาพโซเวียต คอสมอส 27 – 27 มีนาคม 1964 – ยานลำนี้ได้พยายามโคจรผ่านดาวศุกร์ (แต่ล้มเหลวที่จะออกไปจากวงโคจรของโลก)
  • สหภาพโซเวียต เซินด์ 1 – 2 เมษายน 1964 – ยานลำนี้ได้โคจรผ่านดาวศุกร์ (แต่สูญเสียการติดต่อไป)
  • สหรัฐ เรนเจอร์ 7 – 28 กรกฎาคม 1964 – ยานลำนี้ได้พุ่งชนดวงจันทร์
  • สหรัฐ มารีนเนอร์ 3 – 5 พฤศจิกายน 1964 – ยานลำนี้ได้พยายามโคจรผ่านดาวอังคาร (แต่ล้มเหลวที่จะถึงแนวที่ถูกต้อง)
  • สหรัฐ มารีนเนอร์ 4 – 28 พฤศจิกายน 1964 – ยานลำนี้ประสบความสำเร็จในการโคจรผ่านดาวอังคาร
  • สหภาพโซเวียต เซินด์ 2 – 30 พฤศจิกายน 1964 – ยานลำนี้ได้โคจรผ่านดาวอังคาร (แต่สูญเสียการติดต่อไป)

1965

  • สหรัฐ เรนเจอร์ 8 – 17 กุมภาพันธ์ 1965 – ยานลำนี้ได้พุ่งชนดวงจันทร์
  • สหภาพโซเวียต คอสมอส 60 – 12 มีนาคม 1965 – ยานลำนี้พยายามลงจอดบนดวงจันทร์ (แต่ล้มเหลวที่จะออกไปจากวงโคจรของโลก)
  • สหรัฐ เรนเจอร์ 9 – 21 มีนาคม 1965 – ยานลำนี้ได้พุ่งชนดวงจันทร์
  • สหภาพโซเวียต ลูนา 5 – 9 เมษายน 1965 – ยานลำนี้ได้พุ่งชนดวงจันทร์ (หลังจากพยายามลงจอดอย่างนิ่มนวล)
  • สหภาพโซเวียต ลูนา 6 – 8 มิถุนายน 1965 – ยานลำนี้พยายามลงจอดบนดวงจันทร์ (missed Moon)
  • สหภาพโซเวียต เซินด์ 3 – 18 กรกฎาคม 1965 – ยานลำนี้ได้พุ่งชนดวงจันทร์
  • สหภาพโซเวียต Luna 7 – 4 ตุลาคม 1965 – ยานลำนี้ได้พุ่งชนดวงจันทร์ (หลังจากพยายามลงจอดอย่างนิ่มนวล)
  • สหภาพโซเวียต เวเนรา 2 – 12 พฤศจิกายน 1965 – ยานลำนี้ได้โคจรผ่านดาวศุกร์ (แต่สูญเสียการติดต่อไป)
  • สหภาพโซเวียต เวเนรา 3 – 16 พฤศจิกายน 1965 – ยานลำนี้ได้ลงจอดบนดาวศุกร์ (แต่สูญเสียการติดต่อไป) – เป็นยานอวกาศลำแรกที่มาถึงพื้นผิวของดาวเคราะห์ดวงอื่น และมีการชนกับดาวศุกร์ครั้งแรก
  • สหภาพโซเวียต คอสมอส 96 – 23 พฤศจิกายน 1965 – พยายามลงจอดบนดาวศุกร์ (แต่เกิดความผิดพลาดในการปล่อยตัว)
  • สหภาพโซเวียต ลูนา 8 – 3 ธันวาคม 1965 – ยานลำนี้พุ่งชนดวงจันทร์ (หลังจากพยายามลงจอดอย่างนิ่มนวล?)
  • สหรัฐ ไพโอเนียร์ 6 – 16 ธันวาคม 1965 – เกิดข้อสังเกตเกี่ยวกับสภาพอากาศในอวกาศ

1966

  • สหภาพโซเวียต ลูนา 9 – 31 มกราคม 1966 – การลงจอดบนดวงจันทร์ครั้งแรก
  • สหภาพโซเวียต คอสมอส 111 – 1 มีนาคม 1966 – พยายามจะโคจรรอบดวงจันทร์ (แต่ล้มเหลวที่จะออกไปจากวงโคจรของโลก)
  • สหภาพโซเวียต ลูนา 10 – 31 มีนาคม 1966 – การโคจรรอบดวงจันทร์ครั้งแรก
  • สหรัฐ เซอร์ไวเยอร์ 1 – 30 พฤษภาคม 1966 – ยานลำนี้ได้ลงจอดบนดวงจันทร์
  • สหรัฐ เอ็กซ์พลอเรอร์ 33 – 1 กรกฎาคม 1966 – พยายามจะโคจรรอบดวงจันทร์ (แต่ล้มเหลวที่จะให้โคจร)
  • สหรัฐ ลูนา ออร์บิเตอร์ 1 – 10 สิงหาคม 1966 – ยานลำนี้ได้โคจรรอบดวงจันทร์
  • สหรัฐ ไพโอเนียร์ 7 – 17 สิงหาคม 1966 – เกิดข้อสังเกตเกี่ยวกับสภาพอากาศในอวกาศ
  • สหภาพโซเวียต ลูนา 11 – 24 สิงหาคม 1966 – ยานลำนี้ได้โคจรรอบดวงจันทร์
  • สหรัฐ เซอร์ไวเยอร์ 2 – 20 กันยายน 1966 – ยานลำนี้ได้พยายามที่จะลงจอดบนดวงจันทร์ (แต่ชนกับดวงจันทร์)
  • สหภาพโซเวียต ลูนา 12 – 22 ตุลาคม 1966 – ยานลำนี้ได้โคจรรอบดวงจันทร์
  • สหรัฐ ลูนา ออร์บิเตอร์ 2 – 6 พฤศจิกายน 1966 – ยานลำนี้ได้โคจรรอบดวงจันทร์
  • สหภาพโซเวียต ลูนา 13 – 21 ธันวาคม 1966 – ยานลำนี้ได้ลงจอดบนดวงจันทร์

1967

  • สหรัฐ ลูนา ออร์บิเตอร์ 3 – 4 กุมภาพันธ์ 1967 – ยานลำนี้ได้โคจรรอบดวงจันทร์
  • สหรัฐ เซอร์ไวเยอร์ 3 – 17 เมษายน 1967 – ยานลำนี้ได้พยายามที่จะลงจอดบนดวงจันทร์
  • สหรัฐ ลูนา ออร์บิเตอร์ 4 – 8 พฤษภาคม 1967 – ยานลำนี้ได้โคจรรอบดวงจันทร์
  • สหภาพโซเวียต เวเนรา 4 – 12 มิถุนายน 1967 – ยานลำแรกที่ได้สำรวจชั้นบรรยากาศของดาวศุกร์
  • สหรัฐ มารีนเนอร์ 5 – 14 มิถุนายน 1967 – ยานลำนี้ได้โคจรผ่านดาวศุกร์
  • สหภาพโซเวียต คอสมอส 167 – 17 มิถุนายน 1967 – พยายามที่จะสำรวจดาวศุกร์ (แต่ล้มเหลวที่จะออกไปจากวงโคจรของโลก)
  • สหรัฐ เซอร์ไวเยอร์ 4 – 14 กรกฎาคม 1967 – ยานลำนี้ได้พยายามที่จะลงจอดบนดวงจันทร์ (แต่ชนกับดวงจันทร์)
  • สหรัฐ เอ็กซ์พลอเรอร์ 35 (IMP-E) – 19 กรกฎาคม 1967 – ยานลำนี้ได้โคจรรอบดวงจันทร์
  • สหรัฐ ลูนา ออร์บิเตอร์ 5 – 1 สิงหาคม 1967 – ยานลำนี้ได้โคจรรอบดวงจันทร์
  • สหรัฐ เซอร์ไวเยอร์ 5 – 8 กันยายน 1967 – ยานลำนี้ได้พยายามที่จะลงจอดบนดวงจันทร์
  • สหรัฐ เซอร์ไวเยอร์ 6 – 7 พฤศจิกายน 1967 – ยานลำนี้ได้พยายามที่จะลงจอดบนดวงจันทร์
  • สหรัฐ ไพโอเนียร์ 8 – 13 ธันวาคม 1967 – เกิดข้อสังเกตเกี่ยวกับสภาพอากาศในอวกาศ

1968

  • สหรัฐ เซอร์ไวเยอร์ 7 – 7 มกราคม 1968 – ยานลำนี้ได้พยายามที่จะลงจอดบนดวงจันทร์
  • สหภาพโซเวียต เซินด์ 4 – 2 มีนาคม 1968 – ยานลำนี้ได้ทดลองโปรแกรมเที่ยวบินไปดวงจันทร์
  • สหภาพโซเวียต ลูนา 14 – 7 เมษายน 1968 – ยานลำนี้ได้โคจรรอบดวงจันทร์
  • สหภาพโซเวียต เซินด์ 5 – 15 กันยายน 1968 – ยานลำนี้ได้โคจรผ่านดวงจันทร์และกลับมายังโลกได้เป็นลำแรก
  • สหรัฐ ไพโอเนียร์ 9 – 8 พฤศจิกายน 1968 – เกิดข้อสังเกตเกี่ยวกับสภาพอากาศในอวกาศ
  • สหภาพโซเวียต เซินด์ 6 – 10 พฤศจิกายน 1968 – ยานลำนี้ได้โคจรผ่านดวงจันทร์และกลับมายังโลก
  • สหรัฐ อะพอลโล 8 – 21 ธันวาคม 1968 – ยานลำนี้ได้ส่งมนุษย์ขึ้นไปพร้อมกับยานอวกาศเพื่อโคจรรอบดวงจันทร์

1969

  • สหภาพโซเวียต เวเนรา 5 – 5 มกราคม 1969 – ยานลำนี้ได้สำรวจชั้นบรรยากาศของดาวศุกร์
  • สหภาพโซเวียต เวเนรา 6 – 10 มกราคม 1969 – ยานลำนี้ได้สำรวจชั้นบรรยากาศของดาวศุกร์
  • สหรัฐ มารีนเนอร์ 6 – 25 มกราคม 1969 – ยานลำนี้ได้โคจรผ่านดาวอังคาร
  • สหรัฐ อะพอลโล 9 – 3 มีนาคม 1969 – ยานลำนี้ได้ทดลองส่งมนุษย์ขึ้นสู่เที่ยวบินไปดวงจันทร์
  • สหรัฐ มารีนเนอร์ 7 – 27 มีนาคม 1969 – ยานลำนี้ได้โคจรผ่านดาวอังคาร
  • สหรัฐ อะพอลโล 10 – 18 พฤษภาคม 1969 – ยานลำนี้ได้ส่งมนุษย์ขึ้นไปโคจรรอบดวงจันทร์
  • สหภาพโซเวียต ลูนา E-8-5 No.402 – 14 มิถุนายน 1969 – ยานลำนี้พยายามส่งตัวอย่างของวัตถุบนดวงจันทร์กลับมา, การพยายามครั้งแรกของ sample return mission
  • สหภาพโซเวียต ลูนา 15 – 13 กรกฎาคม 1969 – ยานลำนี้พยายามส่งตัวอย่างของดวงจันทร์กลับมาเป็นครั้งที่สอง
  • สหรัฐ อะพอลโล 11 – 16 กรกฎาคม 1969 – การลงจอดบนดวงจันทร์พร้อมมีมนุษย์ และ การส่งตัวอย่างกลับมาครั้งแรกโดยสำเร็จเป็นครั้งแรก
  • สหภาพโซเวียต เซินด์ 7 – 7 สิงหาคม 1969 – โคจรผ่านดวงจันทร์แล้วกลับมายังโลก
  • สหภาพโซเวียต คอสมอส 300 – 23 กันยายน 1969 – ยานลำนี้พยายามส่งตัวอย่างของวัตถุบนดวงจันทร์กลับมา (แต่ล้มเหลวที่จะออกไปจากวงโคจรของโลก)
  • สหภาพโซเวียต คอสมอส 305 – 22 ตุลาคม 1969 – ยานลำนี้พยายามส่งตัวอย่างของวัตถุบนดวงจันทร์กลับมา (แต่ล้มเหลวที่จะออกไปจากวงโคจรของโลก)
  • สหรัฐ อะพอลโล 12 – 14 พฤศจิกายน 1969 – ลงจอดบนดวงจันทร์พร้อมมีมนุษย์เดินทางไปด้วย

ช่วงทศวรรษ 1970

[แก้]
ไพโอเนียร์ 10 – โคจรผ่านดาวพฤหัสบดีเป็นครั้งแรก
มารีนเนอร์ 10 – โคจรผ่านดาวพุธเป็นครั้งแรก
วอยเอเจอร์ 2 – โคจรผ่านดาวยูเรนัสและดาวเนปจูนเป็นครั้งแรก

1970

  • สหรัฐ อะพอลโล 13 – 11 เมษายน 1970 – ส่งมนุษย์ขึ้นไปโคจรผ่านดวงจันทร์และกลับมายังโลก (แต่ตั้งใจจะส่งขึ้นไปลงจอดบนดวงจันทร์แล้วยกเลิก)
  • สหภาพโซเวียต เวเนรา 7 – 17 สิงหาคม 1970 – ลงจอดบนดาวศุกร์ครั้งแรก
  • สหภาพโซเวียต คอสมอส 359 – 22 สิงหาคม 1970 – พยายามส่งยานสำรวจลงดาวศุกร์ (แต่ล้มเหลวที่จะหนีออกไปจากวงโคจรของโลก)
  • สหภาพโซเวียต ลูนา 16 – 12 กันยายน 1970 – หุ่นยนต์ตัวแรกที่เก็บตัวอย่างมาจากดวงจันทร์
  • สหภาพโซเวียต เซินด์ 8 – 20 ตุลาคม 1970 – โคจรผ่านดวงจันทร์แล้วกลับมายังโลก
  • สหภาพโซเวียต ลูนา 17/ลูโนโฮด 1 – 10 พฤศจิกายน 1970 – รถสำรวจภาคพื้นดินของดวงจันทร์คันแรก

1971

  • สหรัฐ อะพอลโล 14 – 31 มกราคม 1971 – ส่งมนุษย์ขึ้นไปพร้อมกับยานอวกาศเพื่อลงจอดบนดวงจันทร์
  • สหภาพโซเวียต ซัลยุต 1 – 19 เมษายน 1971 – สถานีอวกาศแห่งแรก
  • สหภาพโซเวียต คอสมอส 419 – 10 พฤษภาคม 1971 – พยายามจะโคจรรอบดาวอังคาร (แต่ล้มเหลวที่จะหนีออกไปจากวงโคจรของโลก)
  • สหภาพโซเวียต มาร์ส 2 – 19 พฤษภาคม 1971 – โคจรรอบดาวอังตารและพยายามลงจอด; เกิดการพุ่งชนดาวอังคารครั้งแรก
  • สหภาพโซเวียต มาร์ส 3 – 28 พฤษภาคม 1971 – โคจรรอบดาวอังคาร, ลงจอดบนดาวอังคารครั้งแรก (แต่สัญญาณหายไปหลังจากลงจอด 14.5 วินาที) และ สำรวจชั้นบรรยากาศของดาวอังคารได้เป็นครั้งแรก
  • สหรัฐ มารีนเนอร์ 9 – 30 พฤษภาคม 1971 – โคจรรอบดาวอังคารเป็นครั้งแรก
  • สหรัฐ อะพอลโล 15 – 26 กรกฎาคม 1971 – ส่งมนุษย์ขึ้นไปบนดวงจันทร์; ครั้งแรกที่รถโรเวอร์อยู่บนดวงจันทร์ตลอด
  • สหภาพโซเวียต ลูนา 18 – 2 กันยายน 1971 – พยายามส่งตัวอย่างกลับมา (แต่เข้าชนกับดวงจันทร์)
  • สหภาพโซเวียต ลูนา 19 – 28 กันยายน 1971 – โคจรรอบดวงจันทร์

1972

  • สหภาพโซเวียต ลูนา 20 – 14 กุมภาพันธ์ 1972 – หุ่นยนต์เก็บตัวอย่างมาจากดวงจันทร์
  • สหรัฐ ไพโอเนียร์ 10 – 3 มีนาคม 1972 – โคจรผ่านดาวพฤหัสบดีเป็นครั้งแรก
  • สหภาพโซเวียต เวเนรา 8 – 27 มีนาคม 1972 – ลงจอดบนดาวศุกร์
  • สหภาพโซเวียต คอสมอส 482 – 31 มีนาคม 1972 – พยายามส่งยานสำรวจลงดาวศุกร์ (แต่ล้มเหลวที่จะหนีออกไปจากวงโคจรของโลก)
  • สหรัฐ อะพอลโล 16 – 16 เมษายน 1972 – ส่งมนุษย์ขึ้นไปบนดวงจันทร์
  • สหรัฐ อะพอลโล 17 – 7 ธันวาคม 1972 – ส่งมนุษย์ขึ้นไปบนดวงจันทร์เป็นครั้งสุดท้าย

1973

  • สหภาพโซเวียต ลูนา 21/ลูโนโฮด 2 – 8 มกราคม 1973 – ส่งรถสำรวจภาคพื้นดินของดวงจันทร์ไปสำรวจ
  • สหรัฐ ไพโอเนียร์ 11 – 5 เมษายน 1973 – โคจรผ่านดาวพฤหัสบดี และ โคจรผ่านดาวเสาร์เป็นครั้งแรก
  • สหรัฐ สกายแล็บ – 14 พฤษภาคม 1973 – สถานีอวกาศแห่งแรกของอเมริกา
  • สหรัฐ เอ็กซ์พลอเรอร์ 49 (RAE-B) – 10 มิถุนายน 1973 – โคจรรอบดวงจันทร์/เป็นวิทยุดาราศาสตร์
  • สหภาพโซเวียต มาร์ส 4 – 21 กรกฎาคม 1973 – โคจรผ่านดาวอังคาร (หลังจากที่พยายามให้ลงจอดบนดาวอังคารแต่ไม่สำเร็จ)
  • สหภาพโซเวียต มาร์ส 5 – 25 กรกฎาคม 1973 – โคจรรอบดาวอังคาร
  • สหภาพโซเวียต มาร์ส 6 – 5 สิงหาคม 1973 – โคจรรอบดาวอังคาร และพยายามลงจอดด้วย (แต่ล้มเหลวเพราะเกิดความเสียหายขณะลงจอด)
  • สหภาพโซเวียต มาร์ส 7 – 9 สืงหาคม 1973 – โคจรผ่านดาวอังคาร และพยายามลงจอด (missed Mars)
  • สหรัฐ มารีนเนอร์ 10 – 4 พฤศจิกายน 1973 – โคจรผ่านดาวศุกร์ และ โคจรผ่านดาวพุธครั้งแรก

1974

  • สหภาพโซเวียต ลูนา 22 – 2 มิถุนายน 1974 – โคจรรอบดวงจันทร์
  • สหภาพโซเวียต ลูนา 23 – 28 ตุลาคม 1974 – พยายามส่งตัวอย่างกลับมา (แต่ล้มเหลวเพราะเกิดความเสียหายขณะลงจอด)
  • สหรัฐ เยอรมนี เฮลิออส-เอ – 10 ธันวาคม 1974 – สำรวจดวงอาทิตย์

1975

  • สหภาพโซเวียต เวเนรา 9 – 8 มิถุนายน 1975 – โคจรรอบดาวศุกร์ครั้งแรก และลงจอด; ยานลำนี้ได้ถ่ายภาพพื้นผิวของดาวศุกร์เป็นภาพแรก
  • สหภาพโซเวียต เวเนรา 10 – 14 มิถุนายน 1975 – โคจรรอบดาวศุกร์และลงจอด
  • สหรัฐ ไวกิง 1 – 20 สิงหาคม 1975 – โคจรรอบดาวอังคารและลงจอด; การลงจอดพร้อมส่งข้อมูลกลับมาครั้งแรก และ ได้ภาพพื้นผิวของดาวศุกร์เป็นภาพแรก
  • สหรัฐ ไวกิง 2 – 9 กันยายน 1975 – โคจรรอบดาวอังคารและลงจอด

1976

  • สหรัฐ เยอรมนี เฮลิออส-บี – 15 มกราคม 1976 – สำรวจดวงอาทิตย์, และสร้างสถิติยานอวกาศที่เข้าใกล้ดวงอาทิตย์ที่สุด (0.29 AU)
  • สหภาพโซเวียต ลูนา 24 – 9 สิงหาคม 1976 – หุ่นยนต์เก็บตัวอย่างมาจากดวงจันทร์

1977

  • สหรัฐ วอยเอจเจอร์ 2 – 20 สิงหาคม 1977 – โคจรผ่านดาวพฤหัสบดี/ดาวเสาร์/ดาวยูเรนัสครั้งแรก/ ดาวเนปจูนครั้งแรก
  • สหรัฐ วอยเอเจอร์ 1 – 5 กันยายน 1977 – โคจรผ่านดาวพฤหัสบดี/ดาวเสาร์ และได้รับสถิติว่าเป็นวัตถุที่มนุษย์สร้างขึ้นแล้วไปได้ไกลที่สุด – ปัจจุบัน (12 สิงหาคม พ.ศ. 2565 เวลา 23:00 น.) อยู่ที่ 23,468,362,038 กิโลเมตรจากโลก หรือ ประมาณ 156.87631335 AU [16]

1978

ช่วงทศวรรษ 1980

[แก้]
ก็อตโต – โคจรผ่านดาวหางฮัลเลย์

1981

  • สหภาพโซเวียต เวเนรา 13 – 30 ตุลาคม 1981 – โคจรผ่านดาวศุกร์และลงจอด
  • สหภาพโซเวียต เวเนรา 14 – 4 พฤศจิกายน 1981 – โคจรผ่านดาวศุกร์และลงจอด

1983

  • สหภาพโซเวียต เวเนรา 15 – 2 มิถุนายน 1983 – โคจรรอบดาวศุกร์
  • สหภาพโซเวียต เวเนรา 16 – 7 มิถุนายน 1983 – โคจรรอบดาวศุกร์

1984

  • สหภาพโซเวียต เวกา 1 – 15 ธันวาคม 1984 – โคจรผ่านดาวศุกร์, ลงจอดและได้สร้างบอลลูน เพื่อลอยตัวไปสู่การโคจรผ่านดาวหางฮัลเลย์
  • สหภาพโซเวียต เวกา 2 – 21 ธันวาคม 1984 – โคจรผ่านดาวศุกร์, ลงจอดและได้สร้างบอลลูน เพื่อลอยตัวไปสู่การโคจรผ่านดาวหางฮัลเลย์

1985

กาลิเลโอ – ภารกิจสู่ ดาวพฤหัสบดี
  • ญี่ปุ่น ซะกิกะเคะ – 7 มกราคม 1985 – โคจรผ่านดาวหางฮัลเลย์
  • สหภาพยุโรป ก็อตโต – 2 กรกฎาคม 1985 – โคจรผ่านดาวหางฮัลเลย์
  • ญี่ปุ่น ซุยเซอิ (Planet-A) – 18 สิงหาคม 1985 – โคจรผ่านดาวหางฮัลเลย์

1986

  • สหภาพโซเวียต เมียร์ – 20 กุมภาพันธ์ 1986 – สถานีอวกาศแบบแยกส่วนแห่งแรก (เสร็จ 1996)

1988

  • สหภาพโซเวียต โฟบอส 1 – 7 กรกฎาคม 1988 – พยายามโคจรรอบดาวอังคาร/ลงจอดบนโฟบอส (สูญเสียการติดต่อ)
  • สหภาพโซเวียต โฟบอส 2 – 12 กรกฎาคม 1988 – โคจรรอบดาวอังคาร/พยายามลงจอดบนโฟบอส (สูญเสียการติดต่อ)

1989

ช่วงทศวรรษ 1990

[แก้]

1990

มาร์ส พาร์ทไฟน์เดอร์ – ลงจอดบนดาวอังคาร และ รถสำรวจภาคพื้นดินของดาวอังคารคันแรก

1991

  • ญี่ปุ่น สหรัฐ สหราชอาณาจักร Yohkoh (Solar-A) – 30 August 1991 – สำรวจดวงอาทิตย์

1992

  • สหรัฐ Mars Observer – 25 กันยายน 1992 – พยายามโคจรรอบดาวอังคาร (การติดต่อหายไป)

1994

  • สหรัฐ Clementine – 25 มกราคม 1994 – โคจรรอบดวงจันทร์/พยายามโคจรผ่านดาวเคราะห์น้อย
  • สหรัฐ WIND – 1 พฤศจิกายน 1994 – สำรวจลมสุริยะ

1995

  • สหภาพยุโรป สหรัฐ SOHO – 2 ธันวาคม 1995 – สำรวจดวงอาทิตย์

1996

  • สหรัฐ เนียร์ ชูเมกเกอร์ – 17 กุมภาพันธ์ 1996 – โคจรรอบอีรอส, โคจรผ่านดาวเคราะห์น้อยใกล้โลกครั้งแรก, โคจรรอบดาวเคราะห์น้อยครั้งแรก และ ลงจอดบนดาวเคราะห์น้อยครั้งแรก
  • สหรัฐ Mars Global Surveyor – 7 พฤศจิกายน 1996 – โคจรรอบดาวอังคาร
  • รัสเซีย Mars 96 – 16 พฤศจิกายน 1996 – พยายามโคจรรอบดาวอังคาร/ลงจอด (แต่ล้มเหลวที่จะหนีออกไปจากวงโคจรของโลก)
  • สหรัฐ Mars Pathfinder – 4 ธันวาคม 1996 – ลงจอดบนดาวอังคาร และ เป็นรถสำรวจดาวเคราะห์คันแรก

1997

แคสซินี–ไฮเกนส์ – โคจรรอบดาวเสาร์ครั้งแรก และ ลงจอดที่ไททันเป็นครั้งแรก
  • สหรัฐ ACE – 25 สิงหาคม 1997 – สำรวจลมสุริยะและ"สภาพอากาศในอวกาศ"
  • สหรัฐ สหภาพยุโรป อิตาลี แคสซินี–ไฮเกนส์ – 15 ตุลาคม 1997 – โคจรรอบดาวเสาร์ครั้งแรกและลงจอดในเขตดาวเคราะห์ชั้นนอกเป็นครั้งแรก
  • จีน AsiaSat 3/HGS-1 – 24 ธันวาคม 1997 – โคจรผ่านดวงจันทร์

1998

  • สหรัฐ Lunar Prospector – 7 มกราคม 1998 – โคจรรอบดวงจันทร์
  • ญี่ปุ่น Nozomi (probe) (also known as Planet-B) – 3 กรกฎาคม 1998 – พยายามโคจรรอบดาวอังคาร (แต่ล้มเหลวที่จะเข้าสู่จากวงโคจรของดาวอังคาร)
  • สหรัฐ Deep Space 1 (DS1) – 24 ตุลาคม 1998 – โคจรผ่านดาวเคราะห์น้อยและดาวหาง
  • สหรัฐ รัสเซีย สหภาพยุโรป ญี่ปุ่น แคนาดา – 20 พฤศจิกายน 1998 – สถานีอวกาศนานาชาติ
  • สหรัฐ Mars Climate Orbiter – 11 ธันวาคม 1998 – พยายามโคจรรอบดาวอังคาร (แต่ผิดพลาดในตำแหน่งที่เข้าสู่วงโคจรดาวอังคาร)

1999

  • สหรัฐ Mars Polar Lander/Deep Space 2 (DS2) – 3 มกราคม 1999 – พยายามลงจอดบนดาวอังคาร/penetrators (การติดต่อหายไป)
  • สหรัฐ Stardust – 7 กุมภาพันธ์ 1999 – ส่งตัวอย่างของดาวหางกลับมาครั้งแรก – กลับมาในวันที่ 15 มกราคม 2006

ช่วงทศวรรษ 2000

[แก้]
มาร์ส เอกซ์เพรส/บีเกิล 2 – ภารกิจอวกาศแรกโดย องค์การอวกาศยุโรป (ESA)
MESSENGER – ยานอวกาศลำแรกที่โคจรรอบดาวพุธ

2001

  • สหรัฐ 2001 มาร์สโอดิสซีย์ – 7 เมษายน 2001 – สำรวจและโคจรรอบดาวอังคาร
  • สหรัฐ เจเนซิส – 8 สิงหาคม 2001 – ส่งตัวอย่างของลมสุริยะกลับมาครั้งแรก – ตกสู่พื้นโลกเมื่อ 8 กันยายน 2004

2002

  • สหรัฐ CONTOUR – 3 กรกฎาคม 2002 – โคจรผ่านดาวหางเพื่อถ่ายภาพ (ดาวหางเองเคอ, Schwassmann-Wachmann-3; เครื่องยนต์เกิดข้อผิดพลาดในขณะที่กำลังเปลี่ยนวงโคจรทำให้สำรวจได้เพียง 2 ดวง)

2003

2004

  • สหภาพยุโรป โรเซตตา – 2 มีนาคม 2004 – โคจรและลงจอดบนดาวหาง (ลงจอดในเดือนพฤศจิกายน 2014)
  • สหรัฐ MESSENGER – 3 สิงหาคม 2004 – ยานลำแรกที่โคจรและสำรวจดาวพุธ (ุเข้าสู่วงโคจรเมื่อวันที่ 18 มีนาคม 2011)

2005

2006

  • สหรัฐ นิวฮอไรซันส์ – 19 มกราคม 2006 – ยานอวกาศลำแรกที่เดินทางผ่าน พลูโต/ชารอน และ แถบไคเปอร์ (เมื่อวันที่ 14 กรกฎาคม 2015) และถึง วัตถุอาร์โรคอท (ในวันที่ 1 มกราคม 2019)
  • ญี่ปุ่น สหรัฐ สหราชอาณาจักร ฮิโนเดะ (Solar-B) – 22 กันยายน 2006 – ดาวเทียมโคจรรอบดวงอาทิตย์ เพื่อสำรวจและถ่ายรูป
  • สหรัฐ STEREO – 26 ตุลาคม 2006 – ประกอบด้วยยาน 2 ลำ A และ B โคจรรอบดวงอาทิตย์ เพื่อสำรวจและถ่ายรูป

2007

2008

  • อินเดีย จันทรายาน-1 – 22 ตุลาคม 2008 – โคจรรอบดวงจัทร์และส่งยานลูกกระทบผิวดวงจันทร์ – ค้นหาหลักฐานการมีอยู่ของน้ำบนดวงจันทร์

2009

  • สหรัฐ Lunar Reconnaissance Orbiter/LCROSS – 18 มิถุนายน 2009 – โคจรรอบขั้วโลกของดวงจันทร์และกระทบผิวดวงจันทร์
  • สหรัฐ WISE (NEOWISE) – 14 ธันวาคม 2009 – กล้องโทรทรรศน์อวกาศเพื่อสำรวจท้องฟ้า

ช่วงทศวรรษ 2010

[แก้]
ภาพจำลองหุ่นสำรวจคิวริออซิตีที่ดาวอังคาร
ภาพจำลองโอไซริส เร็กซ์ ขณะเก็บตัวอย่างจากดาวเคราะห์น้อย
ภาพจำลองยานจูโนที่ดาวพฤหัสบดี
ยานลงจอดฉางเอ๋อ 4 ที่พื้นผิวดวงจันทร์
ภาพจำลองยานพาร์กเกอร์ โซลาร์ โพรบ ที่ดวงอาทิตย์
ยานลงจอดเบเรชีตของอิสราเอล
ชื่อภารกิจ วันที่เริ่มภารกิจ รายละเอียดภารกิจ อ้างอิง
สหรัฐ โซลาร์ ไดนามิก ออบเซอร์เวทอรี 11 กุมภาพันธ์ 2010 สังเกตการณ์ดวงอาทิตย์ [17][18]
ญี่ปุ่น อาคัตซุกิ 20 พฤษภาคม 2010 โคจรรอบดาวศุกร์ (ความพยายามครั้งแรกในปี 2010 ล้มเหลว แต่ประสบความสำเร็จในปี 2015) [19][20][21]
ฝรั่งเศส PICARD 15 มิถุนายน 2010 สังเกตการณ์ดวงอาทิตย์ [22][23]
จีน ฉางเอ๋อ 2 1 ตุลาคม 2010 โคจรรอบดวงจันทร์และบินผ่านดาวเคราะห์น้อย [24][25][26]
สหรัฐ จูโน 5 สิงหาคม 2011 โคจรรอบดาวพฤหัสบดี [27][28]
สหรัฐ GRAIL 10 กันยายน 2011 โคจรรอบดวงจันทร์ [29][30][31]
รัสเซีย จีน โฟบอส-กรันต์ และหยิงฮัว 1 8 พฤศจิกายน 2011 โคจรรอบดาวอังคารและเก็บตัวอย่างจากโฟบอส (ภารกิจทั้งสองล้มเหลว) [32][33]
สหรัฐ คิวริออซิตี 26 พฤศจิกายน 2011 หุ่นสำรวจดาวอังคาร (ลงจอดเมื่อ 6 สิงหาคม ค.ศ.2012) [34][35]
สหรัฐ แวนอัลเลน 30 สิงหาคม 2012 สำรวจและศึกษาแถบรังสีแวนอัลเลน [36][37][38]
สหรัฐ ไอริส 28 มิถุนายน 2013 สังเกตการณ์ดวงอาทิตย์ [39]
สหรัฐ LADEE 7 กันยายน 2013 โคจรรอบดวงจันทร์ [40][41]
ญี่ปุ่น ฮิซากิ 14 กันยายน 2013 สังเกตการณ์ชั้นบรรยากาศของดาวเคราะห์ต่างๆ [42]
อินเดีย มาร์ส ออร์บิเตอร์ มิชชัน (มังกัลยาน) 5 พฤศจิกายน 2013 ยานโคจรรอบดาวอังคาร [43][44][45]
สหรัฐ เมเวน 18 พฤศจิกายน 2013 ยานโคจรรอบดาวอังคาร [46][47]
จีน ฉางเอ๋อ 3 1 ธันวาคม 2013 ยานลงจอดบนดวงจันทร์พร้อมกับรถโรเวอร์ [24][48][49][50]
จีน ฉางเอ๋อ 5-ที 1 23 ตุลาคม 2014 เป็นการทดสอบและเตรียมพร้อมสำหรับภารกิจฉางเอ๋อ 5 [51]
ญี่ปุ่น เยอรมนี ฝรั่งเศส ฮายาบูซะ 2 / MASCOT 3 ธันวาคม 2014 ลงจอดและเก็บตัวอย่างจากดาวเคราะห์น้อย (ตัวอย่างมาถึงโลกเมื่อวันที่ 5 ธันวาคม 2020) [52][53][54]
ญี่ปุ่น PROCYON 3 ธันวาคม 2014 สังเกตการณ์ดาวหางและบินผ่านดาวเคราะห์น้อย (เครื่องยนต์ล้มเหลว) [55]
สหรัฐ DSCOVR 11 กุมภาพันธ์ 2015 สังเกตการณ์ดวงอาทิตย์ [56][57]
สหภาพยุโรป รัสเซีย เอกโซมาร์ส เทรซ แก๊ส ออร์บิเตอร์ / อีดีเอ็ม แลนเดอร์ 14 มีนาคม 2016 เป็นภารกิจที่ประกอบไปด้วยยานโคจรและยานลงจอดบนดาวอังคาร (ยานลงจอดล้มเหลว) [58][59]
สหรัฐ โอไซริส-เร็กซ์ 8 กันยายน 2016 เก็บตัวอย่างดาวเคราห์น้อย (ตัวอย่างจะมาถึงโลกในปี 2023) [60][61]
สหรัฐ อินไซต์ 5 พฤศภาคม 2018 ยานลงจอดบนดาวอังคาร [62][63]
จีน Queqiao 20 พฤษภาคม 2018 ทำหน้าที่เป็นดาวเทียมสื่อสารให้ยานฉางเอ๋อ 4 [64]
สหรัฐ พาร์กเกอร์ โซลาร์ โพรบ 12 สิงหาคม 2018 สำรวจบริเวณโคโรนาของดวงอาทิตย์ เป็นยานอวกาศที่เข้าใกล้ดวงอาทิตย์มากที่สุด [65][66]
สหภาพยุโรป ญี่ปุ่น เบปีโคลอมโบ 19 ตุลาคม 2018 ส่งยานสำรวจ 2 ลำไปที่ดาวพุธ [67][68]
จีน ฉางเอ๋อ 4 7 ธันวาคม 2018 ลงจอดที่ฝั่งไกลของดวงจันทร์ [24][69][70]
อิสราเอล เบเรชีต 22 กุมภาพันธ์ 2019 ยานลงจอดบนดวงจันทร์ (ภารกิจล้มเหลว เนื่องจากยานอวกาศพุ่งชนดวงจันทร์) [71][72]
อินเดีย จันทรยาน 2 22 กรกฎาคม 2019 โคจรรอบดวงจันทร์ และปล่อยยานสำรวจเพื่อลงจอดพร้อมกับรถโรเวอร์ (ภารกิจการลงจอดล้มเหลวเนื่องจากขาดการติดต่อกับยานสำรวจ) [73][74]

ช่วงทศวรรษ 2020

[แก้]
เฮลิคอปเตอร์อินเจนูอิตีบนดาวอังคาร
ชื่อภารกิจ วันที่เริ่มภารกิจ รายละเอียดภารกิจ อ้างอิง
สหภาพยุโรป โซลาร์ ออร์บิเตอร์ 10 กุมภาพันธ์ 2020 สังเกตการณ์ดวงอาทิตย์ [75]
สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์ มาร์ส โฮป 19 กรกฎาคม 2020 โคจรรอบดาวอังคาร [76]
จีน เทียนเหวิน 1 23 กรกฎาคม 2020 โคจรรอบดาวอังคาร ลงจอดบนดาวอังคาร และปล่อยหุ่นสำรวจบนดาวอังคาร [77][78]
สหรัฐ เพอร์เซอเวียแรนซ์และอินเจนูอิตี 30 กรกฎาคม 2020 ปล่อยหุ่นสำรวจและเฮลิคอปเตอร์บนดาวอังคาร [79][80]
จีน ฉางเอ๋อ 5 23 พฤศจิกายน 2020 เก็บตัวอย่างจากดวงจันทร์ [81][82]
สหรัฐ Lucy 16 ตุลาคม 2021 บินผ่านกลุ่มอุกกาบาตโทรจันของดาวพฤหัสบดี [83][84]
สหรัฐ อิตาลี DART / LICIACube 24 พฤศจิกายน 2021 ชนกับ ดาวเคราะห์น้อยดีดิมอส [85][86]
สหรัฐ สหภาพยุโรป แคนาดา กล้องโทรทรรศน์อวกาศเจมส์ เวบบ์ 25 ธันวาคม 2021 กล้องโทรทรรศน์อวกาศ [87][88][89]
สหรัฐ CAPSTONE 28 มิถุนายน 2022 โคจรรอบดวงจันทร์ [90]
สหรัฐ เกาหลีใต้ ดานูริ (KPLO) 5 สิงหาคม 2022 โคจรรอบดวงจันทร์ [91]
สหรัฐ อาร์ทิมิส 1 16 พฤศจิกายน 2022 ทดสอบยานอวกาศโอไรออนและจรวดเอสแอลเอส [92][93]
ญี่ปุ่น ฮาคุโตะ-อาร์ มิชชัน 1 11 ธันวาคม 2022 ทดสอบยานลงจอดบนดวงจันทร์ (ล้มเหลวเนื่องจากยานอวกาศพุ่งชนดวงจันทร์) [94][95][96][97]
สหภาพยุโรป JUICE 14 เมษายน 2023 โคจรรอบดาวพฤหัสบดี และแกนีมีด [98][99][100]
อินเดีย จันทรายาน-3 14 กรกฎาคม 2023 ลงจอดและโรเวอร์สำรวจดวงจันทร์ (ยานอวกาศลำแรกที่ลงจอดใกล้ขั้วโลกใต้ดวงจันทร์ได้สำเร็จ) [101]
รัสเซีย ลูนา 25 10 สิงหาคม 2023 ลงจอดที่ขั้วใต้ของดวงจันทร์ (ล้มเหลวเนื่องจากยานอวกาศพุ่งชนดวงจันทร์) [102][103]
อินเดีย อาทิตยะ-แอล 1 2 กันยายน 2023 สังเกตการณ์ดวงอาทิตย์ที่บริเวณ จุดลากร็องฌ์ L1 ของโลกและดวงอาทิตย์ [104][105]
ญี่ปุ่น SLIM 6 กันยายน 2023 ยานลงจอดบนดวงจันทร์ [106]
สหรัฐ ไซคี 13 ตุลาคม 2023 โคจรรอบดาวเคราะห์น้อย 16-ไซคี [107][108]
สหรัฐ เพเรกริน มิชชัน วัน 8 มกราคม 2024 ลงจอดบนดวงจันทร์ [109][110][111]
สหรัฐ IM-1 โนวา-ซี Odysseus 15 กุมพาพันธ์ 2024 ลงจอดบนดวงจันทร์ [112]
จีน DRO A/B 13 มีนาคม 2024 โคจรรอบดวงจันทร์ [113]
จีน เชวี่ยเฉียว-2 20 มีนาคม 2024 โคจรรอบดวงจันทร์ [114]
จีน ฉางเอ๋อ 6 3 พฤษภาคม 2024 เก็บตัวอย่างจากดวงจันทร์, เป็นครั้งแรกที่เกตัวอย่างจากด้านไกลของดวงจันทร์ [115][116]
สหภาพยุโรป เฮรา 7 ตุลาคม 2024[ต้องการอัปเดต] บินเข้าใกล้ดาวเคราะห์น้อย 65803 ดิไดโมส [117]
สหรัฐ ยูโรปา คลิปเปอร์ 14 ตุลาคม 2024[ต้องการอัปเดต] โคจรรอบดาวพฤหัสบดี และบินผ่านดวงจันทร์ยูโรปาหลายครั้ง [118][119][120]
ภาพจำลองสถานีอวกาศ Lunar Gateway และยานอวกาศ โอไรออน ในโครงการอาร์ทิมิส
ภาพจำลองกล้องโทรทรรศน์อวกาศเจมส์ เวบบ์
ภาพจำลองยานอวกาศยูโรปา คลิปเปอร์
ภาพจำลองการสำรวจไททันโดยใช้ยานดรากอนฟลาย

ภารกิจในอนาคต

[แก้]
ชื่อภารกิจ วันที่เริ่มภารกิจ รายละเอียดภารกิจ อ้างอิง
สหรัฐ บลูโกสต์ M1 Q4 2024 ลงจอดบนดวงจันทร์ [121][122]
สหรัฐ EscaPADE 2025 ยานโคจรรอบดาวอังคาร 2 ลำ [123]
ญี่ปุ่น ฮาคุโตะ-อาร์ มิชชัน 2 2024 ลงจอดและโรเวอร์สำรวจดวงจันทร์ [124]
อินเดีย ศุกรยาน 1 2024 โคจรรอบดาวศุกร์ [125]
อินเดีย มาร์สออร์บิเตอร์มิชชัน 2 2024 โคจรรอบดาวอังคาร [126]
ญี่ปุ่น เดสทินี พลัส 2024 บินผ่านดาวเคราะห์น้อย 3200 ฟีทอน [127][128]
จีน เทียนเหวิน 2 พฤษภาคม 2025 เก็บตัวอย่างจากดาวเคราะห์น้อย และดาวหาง [129]
สหรัฐ อาร์ทิมิส 2 กันยายน 2025 บินผ่านดวงจันทร์พร้อมนักบินอวกาศ 4 คน [130][131]
ญี่ปุ่น ยานสำรวจเทระ-เฮิรตซ์ 2025 โคจรรอบดาวอังคารและลงจอด [132][133]
สหรัฐ ยูโรปา แลนเดอร์ 2025 ลงจอดบนยูโรปา [134][135]
จีน ฉางเอ๋อ 7 2026 ลงจอดที่ขั้วโลกใต้ของดวงจันทร์, โรเวอร์สำรวจ และ โคจรผ่าน [136]
ญี่ปุ่น ฝรั่งเศส เยอรมนี มาร์เชียน มูน เอ็กซ์พลอเรชัน 2026 เก็บตัวอย่างจากดวงจันทร์ของดาวอังคาร [137][138][139]
รัสเซีย ยานอวกาศ Orel 2026 โคจรรอบดวงจันทร์ [140][141]
สหรัฐ สหภาพยุโรป NASA-ESA 2026 เก็บตัวอย่างจากดาวอังคาร [142]
สหรัฐ อาร์ทิมิส 3 กันยายน 2026 บินผ่านดวงจันทร์พร้อมนักบินอวกาศ 4 คน, ลงจอดบนดวงจันทร์ 2 คน [130][143]
รัสเซีย ลูนา 26 2027 โคจรรอบดวงจันทร์ [144]
สหรัฐ ดรากอนฟลาย กรกฎาคม 2028 ยานลงจอดบนไททัน และบินสำรวจพื้นผิวด้วยใบพัด [145][146]
รัสเซีย ลูนา 27 2028 ลงจอดบนขั้วของดวงจันทร์พร้อมกับรถโรเวอร์ [147][148][149][150]
สหภาพยุโรป เอกโซมาร์ส 2028 ลงจอดบนดาวอังคารพร้อมกับรถโรเวอร์ [151][152][153][154]
จีน เทียนเหวิน 3 2028 เก็บตัวอย่างจากดาวอังคาร [155]
สหรัฐ DAVINCI มิถุนายน 2029 โคจรรอบดาวศุกร์พร้อมดาวเทียมสำรวจชั้นบรรยากาศ [156]
จีน เทียนเหวิน 4 กันยายน 2029 โคจรรอบดาวพฤหัสบดีและ คัลลิสโต,บินผ่าน ดาวยูเรนัส [157][158]
สหรัฐ VERITAS 2029 โคจรรอบดาวศุกร์ [134][135]
สหภาพยุโรป ญี่ปุ่น โคเม็ต อินเทอร์เซ็ปเตอร์ 2029 บินผ่านดาวหางที่มาจากกลุ่มเมฆออร์ต [159][160][161]
รัสเซีย Venera-D 2029 ยานอวกาศโคจรและลงจอดบนดาวศุกร์ [162]
รัสเซีย ลูนา 28 2030 เก็บตัวอย่างจากดวงจันทร์ [163]

ระเบียงภาพ

[แก้]

ดูเพิ่ม

[แก้]

อ้างอิง

[แก้]
  1. "Viewing The Earth From Space Celebrates 70 Years". 22 สิงหาคม 2016. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 23 สิงหาคม 2016.
  2. "Sputnik 1". nssdc.gsfc.nasa.gov. สืบค้นเมื่อ 15 เมษายน 2019.
  3. 3.0 3.1 "Sputnik | satellites". Encyclopedia Britannica (ภาษาอังกฤษ). สืบค้นเมื่อ 15 เมษายน 2019.
  4. "Sputnik 2". nssdc.gsfc.nasa.gov. สืบค้นเมื่อ 15 เมษายน 2019.
  5. Garcia, Mark (6 พฤศจิกายน 2017). "60 years ago: The First Animal in Orbit". NASA. สืบค้นเมื่อ 15 เมษายน 2019.
  6. "Explorer 1". nssdc.gsfc.nasa.gov. สืบค้นเมื่อ 15 เมษายน 2019.
  7. "Vanguard 1". nssdc.gsfc.nasa.gov. สืบค้นเมื่อ 15 เมษายน 2019.
  8. "Luna 1". nssdc.gsfc.nasa.gov. สืบค้นเมื่อ 15 เมษายน 2019.
  9. Cavallaro, Umberto (5 ตุลาคม 2018). The Race to the Moon Chronicled in Stamps, Postcards, and Postmarks: A Story of Puffery vs. the Pragmatic (ภาษาอังกฤษ). Springer. p. 46. ISBN 9783319921532.
  10. JR, Wesley T. Huntress; Marov, Mikhail Ya (28 มิถุนายน 2011). Soviet Robots in the Solar System: Mission Technologies and Discoveries (ภาษาอังกฤษ). Springer Science & Business Media. p. 77. ISBN 9781441978981.
  11. 11.0 11.1 11.2 "Luna | space probe". Encyclopedia Britannica (ภาษาอังกฤษ). สืบค้นเมื่อ 15 เมษายน 2019.
  12. "Pioneer 4". nssdc.gsfc.nasa.gov. สืบค้นเมื่อ 15 เมษายน 2019.
  13. "In Depth | Pioneer 4". Solar System Exploration: NASA Science. สืบค้นเมื่อ 15 เมษายน 2019.
  14. "Luna 2". nssdc.gsfc.nasa.gov. สืบค้นเมื่อ 15 เมษายน 2019.
  15. "Luna 3". nssdc.gsfc.nasa.gov. สืบค้นเมื่อ 15 เมษายน 2019.
  16. http://voyager.jpl.nasa.gov/where/index.html
  17. "Solar Dynamics Observatory". nssdc.gsfc.nasa.gov. สืบค้นเมื่อ 13 มิถุนายน 2019.
  18. "Solar Dynamics Observatory | United States satellite". Encyclopedia Britannica (ภาษาอังกฤษ). สืบค้นเมื่อ 13 มิถุนายน 2019.
  19. "Akatsuki". nssdc.gsfc.nasa.gov. สืบค้นเมื่อ 13 มิถุนายน 2019.
  20. "In Depth | Akatsuki". NASA Solar System Exploration. สืบค้นเมื่อ 13 มิถุนายน 2019.
  21. "Akatsuki | Mission & Facts". Encyclopedia Britannica (ภาษาอังกฤษ). สืบค้นเมื่อ 13 มิถุนายน 2019.
  22. "Picard". nssdc.gsfc.nasa.gov. สืบค้นเมื่อ 13 มิถุนายน 2019.
  23. "Picard". Picard (ภาษาอังกฤษ). สืบค้นเมื่อ 13 มิถุนายน 2019.
  24. 24.0 24.1 24.2 "Chang'e | Missions & Facts". Encyclopedia Britannica (ภาษาอังกฤษ). สืบค้นเมื่อ 12 มิถุนายน 2019.
  25. "Chang'e 2". nssdc.gsfc.nasa.gov. สืบค้นเมื่อ 13 มิถุนายน 2019.
  26. "In Depth | Chang'e 2". NASA Solar System Exploration. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 9 กันยายน 2020. สืบค้นเมื่อ 13 มิถุนายน 2019.
  27. "Juno". nssdc.gsfc.nasa.gov. สืบค้นเมื่อ 14 มิถุนายน 2019.
  28. "In Depth | Juno". NASA Solar System Exploration. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 5 พฤษภาคม 2019. สืบค้นเมื่อ 14 มิถุนายน 2019.
  29. "Gravity Recovery And Interior Laboratory-A (GRAIL)". nssdc.gsfc.nasa.gov. สืบค้นเมื่อ 15 มิถุนายน 2019.
  30. "Gravity Recovery And Interior Laboratory-B (GRAIL)". nssdc.gsfc.nasa.gov. สืบค้นเมื่อ 15 มิถุนายน 2019.
  31. "In Depth | GRAIL". NASA Solar System Exploration. สืบค้นเมื่อ 15 มิถุนายน 2019.
  32. "Phobos-Grunt". nssdc.gsfc.nasa.gov. สืบค้นเมื่อ 16 มิถุนายน 2019.
  33. "Yinghuo-1". nssdc.gsfc.nasa.gov. สืบค้นเมื่อ 16 มิถุนายน 2019.
  34. "Mars Science Laboratory (MSL)". nssdc.gsfc.nasa.gov. สืบค้นเมื่อ 16 มิถุนายน 2019.
  35. "In Depth | Curiosity (MSL)". NASA Solar System Exploration. สืบค้นเมื่อ 16 มิถุนายน 2019.
  36. "Van Allen Probe A (RBSP-A)". nssdc.gsfc.nasa.gov. สืบค้นเมื่อ 16 มิถุนายน 2019.
  37. "Van Allen Probe B (RBSP-B)". nssdc.gsfc.nasa.gov. สืบค้นเมื่อ 16 มิถุนายน 2019.
  38. "Van Allen Probes". vanallenprobes.jhuapl.edu (ภาษาอังกฤษ). สืบค้นเมื่อ 16 มิถุนายน 2019.
  39. "Interface Region Imaging Spectrograph (IRIS)". nssdc.gsfc.nasa.gov. สืบค้นเมื่อ 17 มิถุนายน 2019.
  40. "Lunar Atmosphere and Dust Environment Explorer (LADEE)". nssdc.gsfc.nasa.gov. สืบค้นเมื่อ 18 มิถุนายน 2019.
  41. "In Depth | LADEE". NASA Solar System Exploration. สืบค้นเมื่อ 18 มิถุนายน 2019.
  42. "Hisaki". nssdc.gsfc.nasa.gov. สืบค้นเมื่อ 19 มิถุนายน 2019.
  43. "Mangalyaan". nssdc.gsfc.nasa.gov. สืบค้นเมื่อ 19 มิถุนายน 2019.
  44. "In Depth | Mars Orbiter Mission". NASA Solar System Exploration. สืบค้นเมื่อ 19 มิถุนายน 2019.
  45. "Mars Orbiter Mission | Indian space mission". Encyclopedia Britannica (ภาษาอังกฤษ). สืบค้นเมื่อ 19 มิถุนายน 2019.
  46. "Mars Atmosphere and Volatile EvolutioN (MAVEN)". nssdc.gsfc.nasa.gov. สืบค้นเมื่อ 19 มิถุนายน 2019.
  47. "In Depth | MAVEN". NASA Solar System Exploration. สืบค้นเมื่อ 19 มิถุนายน 2019.
  48. "Chang'e 3". nssdc.gsfc.nasa.gov. สืบค้นเมื่อ 19 มิถุนายน 2019.
  49. "Chang'e 3 Rover". nssdc.gsfc.nasa.gov. สืบค้นเมื่อ 19 มิถุนายน 2019.
  50. "In Depth | Chang'e 3". NASA Solar System Exploration. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 5 ธันวาคม 2020. สืบค้นเมื่อ 19 มิถุนายน 2019.
  51. "Chang'e 5-T1". nssdc.gsfc.nasa.gov. สืบค้นเมื่อ 20 มิถุนายน 2019.
  52. "Hayabusa | Spacecraft, Missions, & Facts". Encyclopedia Britannica (ภาษาอังกฤษ). สืบค้นเมื่อ 20 มิถุนายน 2019.
  53. "Hayabusa 2". nssdc.gsfc.nasa.gov. สืบค้นเมื่อ 6 ธันวาคม 2020.
  54. "In Depth | Hayabusa 2". NASA Solar System Exploration. สืบค้นเมื่อ 20 มิถุนายน 2019.
  55. "PROCYON". nssdc.gsfc.nasa.gov. สืบค้นเมื่อ 20 มิถุนายน 2019.
  56. "DSCOVR". nssdc.gsfc.nasa.gov. สืบค้นเมื่อ 20 มิถุนายน 2019.
  57. "In Depth | DSCOVR". NASA Solar System Exploration. สืบค้นเมื่อ 20 มิถุนายน 2019.
  58. "ExoMars 2016". nssdc.gsfc.nasa.gov. สืบค้นเมื่อ 22 มิถุนายน 2019.
  59. "In Depth | ExoMars Trace Gas Orbiter". NASA Solar System Exploration. สืบค้นเมื่อ 22 มิถุนายน 2019.
  60. "OSIRIS-REx". nssdc.gsfc.nasa.gov. สืบค้นเมื่อ 23 มิถุนายน 2019.
  61. "In Depth | OSIRIS-REx". NASA Solar System Exploration. สืบค้นเมื่อ 23 มิถุนายน 2019.
  62. "InSight". nssdc.gsfc.nasa.gov. สืบค้นเมื่อ 23 มิถุนายน 2019.
  63. "In Depth | InSight". NASA Solar System Exploration. สืบค้นเมื่อ 23 มิถุนายน 2019.
  64. "Queqiao". nssdc.gsfc.nasa.gov. สืบค้นเมื่อ 24 มิถุนายน 2019.
  65. "Parker Solar Probe". nssdc.gsfc.nasa.gov. สืบค้นเมื่อ 23 มิถุนายน 2019.
  66. "In Depth | Parker Solar Probe". NASA Solar System Exploration. สืบค้นเมื่อ 23 มิถุนายน 2019.
  67. "BepiColombo". nssdc.gsfc.nasa.gov. สืบค้นเมื่อ 23 มิถุนายน 2019.
  68. "In Depth | BepiColombo". NASA Solar System Exploration. สืบค้นเมื่อ 23 มิถุนายน 2019.
  69. "Chang'e 4". nssdc.gsfc.nasa.gov. สืบค้นเมื่อ 24 มิถุนายน 2019.
  70. "In Depth | Chang'e 4". NASA Solar System Exploration. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 24 มิถุนายน 2019. สืบค้นเมื่อ 24 มิถุนายน 2019.
  71. "Beresheet". nssdc.gsfc.nasa.gov. สืบค้นเมื่อ 24 มิถุนายน 2019.
  72. "In Depth | Beresheet". NASA Solar System Exploration. สืบค้นเมื่อ 24 มิถุนายน 2019.
  73. "Chandrayaan 2". nssdc.gsfc.nasa.gov. สืบค้นเมื่อ 7 กันยายน 2019.
  74. "In Depth | Chandrayaan 2". NASA Solar System Exploration. สืบค้นเมื่อ 24 มิถุนายน 2019.
  75. "Solar Orbiter". www.esa.int (ภาษาอังกฤษ).
  76. "Home". www.emiratesmarsmission.ae (ภาษาอังกฤษ).
  77. "Tianwen-1 and Zhurong, China's Mars orbiter and rover". The Planetary Society (ภาษาอังกฤษ).
  78. February 2021, Vicky Stein 08 (8 กุมภาพันธ์ 2021). "Tianwen-1: China's first Mars mission". Space.com (ภาษาอังกฤษ).
  79. mars.nasa.gov. "Mars 2020 Perseverance Rover". mars.nasa.gov (ภาษาอังกฤษ).
  80. "NASA's Perseverance rover: everything you need to know about the new Mars rover". www.rmg.co.uk (ภาษาอังกฤษ).
  81. "Chang'e-5: China's Moon sample return mission". The Planetary Society (ภาษาอังกฤษ).
  82. December 2020, Adam Mann 10 (10 ธันวาคม 2020). "China's Chang'e 5 mission: Sampling the lunar surface". Space.com (ภาษาอังกฤษ).
  83. "Lucy". nssdc.gsfc.nasa.gov. สืบค้นเมื่อ 24 มิถุนายน 2019.
  84. "In Depth | Lucy". NASA Solar System Exploration. สืบค้นเมื่อ 24 มิถุนายน 2019.
  85. "Double Asteroid Redirection Test (DART)". nssdc.gsfc.nasa.gov. สืบค้นเมื่อ 24 พฤศจิกายน 2021.{{cite web}}: CS1 maint: url-status (ลิงก์)
  86. "In Depth | DART". NASA Solar System Exploration. สืบค้นเมื่อ 24 พฤศจิกายน 2021.{{cite web}}: CS1 maint: url-status (ลิงก์)
  87. "In Depth | James Webb Space Telescope". NASA Solar System Exploration. สืบค้นเมื่อ 24 มิถุนายน 2019.
  88. Potter, Sean (16 กรกฎาคม 2020). "NASA Announces New James Webb Space Telescope Target Launch Date". NASA. สืบค้นเมื่อ 28 สิงหาคม 2020.
  89. Berger, Eric (1 มิถุนายน 2021). "Webb telescope launch date slips again". Ars Technica (ภาษาอังกฤษแบบอเมริกัน). สืบค้นเมื่อ 21 สิงหาคม 2021. Last summer, NASA and the European Space Agency (ESA) set an October 31, 2021, launch date for the $10 billion telescope. The instrument, which is the largest science observatory ever placed into space, will launch on a European Ariane 5 rocket from a spaceport in French Guiana. Now, however, three considerations have pushed the launch into November or possibly early December.{{cite web}}: CS1 maint: url-status (ลิงก์)
  90. "CAPSTONE". nssdc.gsfc.nasa.gov. สืบค้นเมื่อ 5 มิถุนายน 2022.{{cite web}}: CS1 maint: url-status (ลิงก์)
  91. "Korea Pathfinder Lunar Orbiter (KPLO)". nssdc.gsfc.nasa.gov. สืบค้นเมื่อ 5 สิงหาคม 2022.{{cite web}}: CS1 maint: url-status (ลิงก์)
  92. Hambleton, Kathryn (7 มีนาคม 2018). "Around the Moon with NASA's First Launch of SLS with Orion". NASA. สืบค้นเมื่อ 24 มิถุนายน 2019.
  93. Clark, Stephen. "Hopeful for launch next year, NASA aims to resume SLS operations within weeks – Spaceflight Now" (ภาษาอังกฤษแบบอเมริกัน). สืบค้นเมื่อ 28 สิงหาคม 2020.
  94. "ispace Begins Final Assembly of Lunar Lander Flight Model Ahead of First Mission". ispace. 14 กรกฎาคม 2021. สืบค้นเมื่อ 20 กรกฎาคม 2021.
  95. Foust, Jeff (28 ตุลาคม 2021). "U.A.E. examining options for future human spaceflight missions". SpaceNews. สืบค้นเมื่อ 29 ตุลาคม 2021.
  96. "MBRSC Teams Up with Japan's ispace on Emirates Lunar Mission". ispace. 14 เมษายน 2021. สืบค้นเมื่อ 14 เมษายน 2021.
  97. "SpaceX F9 : HAKUTO-R : CCSFS SLC-40 : 11 December 2022 (07:38 UTC)". forum.nasaspaceflight.com.
  98. "JUpiter ICy moons Explorer (JUICE)". nssdc.gsfc.nasa.gov. สืบค้นเมื่อ 11 ตุลาคม 2019.
  99. "In Depth | JUICE". NASA Solar System Exploration. สืบค้นเมื่อ 24 มิถุนายน 2019.
  100. "JUICE's journey to Jupiter". sci.esa.int (ภาษาอังกฤษแบบบริติช). 16 กุมภาพันธ์ 2017. สืบค้นเมื่อ 15 เมษายน 2019.
  101. Kumar, Chethan (6 เมษายน 2022). "2 Gaganyaan abort tests in August, December; relay satellites next year". The Times of India. สืบค้นเมื่อ 28 มิถุนายน 2022.
  102. "Запуск станции «Луна-25» запланирован на май 2022 года" [The launch of the Luna-25 spacecraft is scheduled for May 2022]. Roscosmos (ภาษารัสเซีย). 20 สิงหาคม 2021. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 30 กันยายน 2021. สืบค้นเมื่อ 20 สิงหาคม 2021.
  103. "Luna 25". nssdc.gsfc.nasa.gov. สืบค้นเมื่อ 6 กรกฎาคม 2021.{{cite web}}: CS1 maint: url-status (ลิงก์)
  104. Marar, Anjali (28 เมษายน 2021). "ARIES to train next-generation solar scientists ahead of India's Aditya L1 mission". The Indian Express. สืบค้นเมื่อ 21 สิงหาคม 2021.
  105. "Aditya - L1 First Indian mission to study the Sun - ISRO". ISRO. 2016. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 10 ธันวาคม 2019. สืบค้นเมื่อ 26 สิงหาคม 2019.
  106. "Smart Lander for Investigating Moon (SLIM)". nssdc.gsfc.nasa.gov. สืบค้นเมื่อ 21 พฤศจิกายน 2020.
  107. "Psyche". nssdc.gsfc.nasa.gov. สืบค้นเมื่อ 24 มิถุนายน 2019.
  108. "In Depth | Psyche". NASA Solar System Exploration. สืบค้นเมื่อ 24 มิถุนายน 2019.
  109. Erwin, Sandra (17 ธันวาคม 2020). "ULA's new rocket Vulcan projected to launch in late 2021". SpaceNews. สืบค้นเมื่อ 14 พฤษภาคม 2021.
  110. "Application for Other by Astrobotic Technology, Inc - Attachment Sched S Tech Report" (PDF). FCC. 12 พฤษภาคม 2021. p. 4. สืบค้นเมื่อ 14 พฤษภาคม 2021.
  111. Berger, Eric (25 มิถุนายน 2021). "Rocket Report: China to copy SpaceX's Super Heavy? Vulcan slips to 2022". Ars Technica (ภาษาอังกฤษแบบอเมริกัน). สืบค้นเมื่อ 21 สิงหาคม 2021. Vulcan launch delayed until 2022. During an appearance on a podcast with Aviation Week, ULA chief Tory Bruno acknowledged the company's Vulcan rocket will not debut until 2022. The first launch will carry the Peregrine lunar lander for Astrobotic, Bruno said, and the spacecraft will not be ready for this year. As for the rocket, it still has a chance to be ready for flight in 2021, but Bruno said pretty much everything would have to go right for that to happen.{{cite web}}: CS1 maint: url-status (ลิงก์)
  112. "Status of Nova C (IM-1) Launch Time". Next Spaceflight. สืบค้นเมื่อ 17 กุมภาพันธ์ 2024.
  113. Jones, Andrew (14 มีนาคม 2024). "Surprise Chinese lunar mission hit by launch anomaly". SpaceNews (ภาษาอังกฤษแบบอเมริกัน). สืบค้นเมื่อ 14 มีนาคม 2024.
  114. "China launches Queqiao-2 relay satellite to support moon missions". Space.com. 20 มีนาคม 2024. สืบค้นเมื่อ 20 มีนาคม 2024.
  115. Jones, Andrew (10 มกราคม 2024). "China's Chang'e-6 probe arrives at spaceport for first-ever lunar far side sample mission". SpaceNews. สืบค้นเมื่อ 10 มกราคม 2024.
  116. Jones, Andrew (6 พฤษภาคม 2024). "China's Chang'e-6 is carrying a surprise rover to the moon". SpaceNews. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 8 พฤษภาคม 2024. สืบค้นเมื่อ 8 พฤษภาคม 2024.
  117. "Industry starts work on Europe's Hera planetary defence mission". ESA. 15 กันยายน 2020. สืบค้นเมื่อ 14 พฤษภาคม 2021.
  118. "Europa Clipper". nssdc.gsfc.nasa.gov. สืบค้นเมื่อ 23 สิงหาคม 2021.
  119. Foust, Jeff (10 กุมภาพันธ์ 2021). "NASA to use commercial launch vehicle for Europa Clipper". SpaceNews. สืบค้นเมื่อ 14 พฤษภาคม 2021.
  120. "Cost growth prompts changes to Europa Clipper instruments". SpaceNews (ภาษาอังกฤษแบบอเมริกัน). 10 กรกฎาคม 2020. สืบค้นเมื่อ 21 พฤศจิกายน 2020. Chodas said that Europa Clipper now has a launch readiness date of 2024, a year later than plans announced last year.
  121. Alamalhoadei, Aria (6 พฤศจิกายน 2023). "Firefly's Blue Ghost lander represents a big bet on a future lunar economy". TechCrunch. สืบค้นเมื่อ 6 พฤศจิกายน 2023.
  122. "Firefly Completes Integration Readiness Review of its Blue Ghost Lunar Lander". Firefly Aerospace. 26 เมษายน 2022. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 1 พฤษภาคม 2022. สืบค้นเมื่อ 1 พฤษภาคม 2022.
  123. Foust, Jeff (25 เมษายน 2024). "NASA planning September launch of Mars smallsat mission on first New Glenn". SpaceNews. สืบค้นเมื่อ 26 เมษายน 2024.
  124. "ispace alters Moon mission timelines for greater response to customer needs". NASASpaceFlight.com. 23 สิงหาคม 2019.
  125. Mehta, Jatan (19 พฤศจิกายน 2020). "India's Shukrayaan orbiter to study Venus for over four years, launches in 2024". SpaceNews. สืบค้นเมื่อ 14 พฤษภาคม 2021.
  126. "What is Mars Orbiter Mission or Mangalyaan". Business Standard India. สืบค้นเมื่อ 26 ตุลาคม 2019. ISRO now plans to develop and launch a follow-up mission called Mars Orbiter Mission 2 (MOM-2 or Mangalyaan-2) in 2024.
  127. Kuninaka, Hitoshi (19 พฤษภาคม 2020). "宇宙科学ミッション打上げ計画について" (PDF). JAXA (ภาษาญี่ปุ่น). สืบค้นเมื่อ 12 พฤศจิกายน 2020.
  128. "DESTINY+: Deep Space Exploration Technology Demonstrator and Explorer to Asteroid 3200 Phaethon" (PDF). 15 สิงหาคม 2017. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม (PDF)เมื่อ 14 กันยายน 2017. สืบค้นเมื่อ 25 มิถุนายน 2019.
  129. published, Andrew Jones (18 พฤษภาคม 2022). "China to launch Tianwen 2 asteroid-sampling mission in 2025". Space.com (ภาษาอังกฤษ).
  130. 130.0 130.1 Tingley, Brett (9 มกราคม 2024). "Astronauts won't walk on the moon until 2026 after NASA delays next 2 Artemis missions". สืบค้นเมื่อ 9 มกราคม 2024.
  131. "NASA's Artemis 2 mission set for November 2024". Phys.org. Agence France-Presse. 7 มีนาคม 2023. สืบค้นเมื่อ 8 มีนาคม 2023.
  132. Takeshi Kuroda, Yasuko Kasai, Shinichi Nakasuka, Hiroyuki Maezawa, Takayoshi Yamada, Ryohei Takahashi: TEREX-1: A micro-satellite terahertz lander for the exploration of water/oxygen resources on Mars. 43rd COSPAR Scientific Assembly, Abstract B0.5-0006-21 (oral), id.223, January 2021.
  133. Kasai, Yasuko (13 มิถุนายน 2018). "Tera-hertz Explorer, TEREX, Mission" (PDF). University of Tsukuba. NICT. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม (PDF)เมื่อ 25 พฤศจิกายน 2018. สืบค้นเมื่อ 24 มิถุนายน 2019.
  134. 134.0 134.1 ""Федерация" без экипажа сможет облететь Луну в 2026 году". РИА Новости (ภาษารัสเซีย). 7 ธันวาคม 2018. Российский корабль "Федерация" без экипажа на борту впервые может облететь Луну в 2026 году [The Russian Federation spaceship without a crew on board may first fly around the moon in 2026]
  135. 135.0 135.1 "Russia plans to land humans on the Moon in 2031". SpaceFlight Insider. 20 พฤศจิกายน 2016. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2 มิถุนายน 2023. สืบค้นเมื่อ 12 สิงหาคม 2022.
  136. Jones, Andrew (5 สิงหาคม 2020). "China is moving ahead with lunar south pole and near-Earth asteroid missions". SpaceNews. สืบค้นเมื่อ 28 มิถุนายน 2022.
  137. "Martian Moons eXploration (MMX)". nssdc.gsfc.nasa.gov. สืบค้นเมื่อ 14 พฤษภาคม 2021.{{cite web}}: CS1 maint: url-status (ลิงก์)
  138. Yamakawa, Hiroshi; Le Gall, Jean-Yves; Ehrenfreund, Pascale; Dittus, Hansjörg (3 ตุลาคม 2018). "Joint Statement with Centre National d'Etudes Spatiales (CNES) and German Aerospace Center (DLR) regarding Martian Moons eXploration" (PDF) (Press release). JAXA. สืบค้นเมื่อ 30 ตุลาคม 2018.
  139. "Mission Overview・Mission Flow". MMX - Martian Moons eXploration (ภาษาอังกฤษ). คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 15 เมษายน 2019. สืบค้นเมื่อ 25 มิถุนายน 2019.
  140. ""Федерация" без экипажа сможет облететь Луну в 2026 году". РИА Новости (ภาษารัสเซีย). 7 ธันวาคม 2018. Российский корабль "Федерация" без экипажа на борту впервые может облететь Луну в 2026 году [The Russian Federation spaceship without a crew on board may first fly around the moon in 2026]
  141. "Russia plans to land humans on the Moon in 2031". SpaceFlight Insider. 20 พฤศจิกายน 2016. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2 มิถุนายน 2023. สืบค้นเมื่อ 12 สิงหาคม 2022.
  142. "The Space Review: Taking on the challenge of Mars sample return". www.thespacereview.com. 27 เมษายน 2020. สืบค้นเมื่อ 24 พฤษภาคม 2020.
  143. "Artemis III Launch - NASA" (ภาษาอังกฤษแบบอเมริกัน). สืบค้นเมื่อ 1 ธันวาคม 2023.
  144. "Ученый сообщил об активном ходе работ по импортозамещению комплектующих "Луны-27"" [The scientist reported on the active progress of work on import substitution of Luna-27 components]. TASS (ภาษารัสเซีย). 19 กรกฎาคม 2023. สืบค้นเมื่อ 27 กรกฎาคม 2023.
  145. "Dragonfly". nssdc.gsfc.nasa.gov. สืบค้นเมื่อ 14 พฤษภาคม 2021.{{cite web}}: CS1 maint: url-status (ลิงก์)
  146. "NASA New Frontiers 5: Third Community Announcement". NASA Science Mission Directorate. 12 พฤษภาคม 2021. สืบค้นเมื่อ 14 พฤษภาคม 2021 – โดยทาง SpaceRef. The launch date for Dragonfly, the fourth mission in the New Frontiers Program, has been delayed to June 2027.{{cite web}}: CS1 maint: url-status (ลิงก์)[ลิงก์เสีย]
  147. ""Роскосмос" назвал причину переноса запуска российских лунных станций". РИА Новости (ภาษารัสเซีย). 13 มกราคม 2019.
  148. "A Soviet-Era 'Moon Digger' Program Is Being Revived To Hunt For Water At The Moon's South Pole". Forbes (ภาษาอังกฤษ). 26 กรกฎาคม 2019.
  149. ""Роскосмос" объявил о переносе запусков станций "Луна-26" и "Луна-27"". Известия (ภาษารัสเซีย). 11 เมษายน 2019.
  150. "В «Роскосмосе» назвали дату начала работ по созданию лунной базы". РБК (ภาษารัสเซีย). 14 เมษายน 2020. สืบค้นเมื่อ 24 พฤษภาคม 2020.
  151. "ExoMars 2022". nssdc.gsfc.nasa.gov. สืบค้นเมื่อ 21 พฤศจิกายน 2020.
  152. "ExoMars Mission (2022)". exploration.esa.int (ภาษาอังกฤษแบบบริติช). สืบค้นเมื่อ 7 เมษายน 2020.
  153. "The way forward to Mars". www.esa.int (ภาษาอังกฤษ). สืบค้นเมื่อ 21 สิงหาคม 2021. The weather at Mars, the type of launcher and the laws of physics governing the planets determined a 12-day launch window starting on 20 September 2022.{{cite web}}: CS1 maint: url-status (ลิงก์)
  154. "ExoMars official says launch unlikely before 2028". SpaceNews (ภาษาอังกฤษแบบอเมริกัน). 3 พฤษภาคม 2022. สืบค้นเมื่อ 4 สิงหาคม 2022.
  155. Jones, Andrew (20 มิถุนายน 2022). "China aims to bring Mars samples to Earth 2 years before NASA, ESA mission". SpaceNews (ภาษาอังกฤษแบบอเมริกัน). สืบค้นเมื่อ 28 กันยายน 2022.
  156. "NASA Selects 2 Missions to Study 'Lost Habitable' World of Venus - NASA" (ภาษาอังกฤษแบบอเมริกัน). สืบค้นเมื่อ 30 พฤศจิกายน 2023.
  157. CNSA Watcher [@CNSAWatcher] (23 ธันวาคม 2023). "Tianwen-4, launching Sept 2029, will journey to Jupiter using Venus & Earth gravity assists. Targeting Jupiter capture by Dec 2035 & a Uranus flyby in March 2045, the mission includes 2 probes, one exploring Jupiter's system and another flying by Uranus" (ทวีต) – โดยทาง ทวิตเตอร์.
  158. Andrew Jones published (22 กันยายน 2022). "China wants to probe Uranus and Jupiter with 2 spacecraft on one rocket". Space.com (ภาษาอังกฤษ). สืบค้นเมื่อ 28 กันยายน 2022.
  159. "Ariel moves from blueprint to reality". ESA. 12 พฤศจิกายน 2020. สืบค้นเมื่อ 12 พฤศจิกายน 2020.
  160. "ESA's new mission to intercept a comet". www.esa.int (ภาษาอังกฤษแบบบริติช). สืบค้นเมื่อ 6 มกราคม 2020.
  161. "Comet Interceptor". www.cometinterceptor.space (ภาษาอังกฤษแบบบริติช). สืบค้นเมื่อ 6 มกราคม 2020.
  162. Zak, Anatoly (5 มีนาคม 2021). "New promise for the Venera-D project". RussianSpaceWeb. สืบค้นเมื่อ 7 มีนาคม 2021.
  163. @katlinegrey (11 สิงหาคม 2023). "Yuri Borisov: Roscosmos plans to launch #Luna26 in 2027, Luna-27 - in 2028, and Luna-28 - in 2030 or later. After that, the next goal will be a crewed mission to the Moon" (ทวีต) – โดยทาง ทวิตเตอร์.
[แก้]