ข้ามไปเนื้อหา

หน่วยดาราศาสตร์

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
หน่วยดาราศาสตร์
เส้นสีเทาคือระยะทางของโลก–ดวงอาทิตย์ ที่มีความยาวเฉลี่ยประมาณ 1 หน่วยดาราศาสตร์
ข้อมูลทั่วไป
ระบบการวัดAstronomical system of units
(ยอมรับให้ใช้แก่ระบบเอสไอ)
เป็นหน่วยของความยาว
สัญลักษณ์au, ua หรือ AU 
การแปลงหน่วย
1 au, ua หรือ AU ใน ...... มีค่าเท่ากับ ...
   หน่วยเมตริก (ระบบหน่วยวัดระหว่างประเทศ)   1.495978707×1011 m
   หน่วยอิมพีเรียล และสหรัฐ   9.2956×107 ไมล์
   หน่วยดาราศาสตร์   4.8481×10−6 pc
   1.5813×10−5 ly

หน่วยดาราศาสตร์ (อังกฤษ: astronomical unit; ย่อในภาษาอังกฤษว่า AU หรือ au หรือ a.u. หรือ ua) คือ หน่วยของระยะทาง มีค่า (โดยประมาณ) เท่ากับระยะห่างระหว่างโลกกับดวงอาทิตย์ ค่าที่ยอมรับในปัจจุบัน เท่ากับ 149,597,870,691±30 เมตร (ประมาณ 150 ล้านกิโลเมตร หรือ 93 ล้านไมล์)

สัญลักษณ์ "ua" ได้รับการเสนอจากสำนัก Bureau International des Poids et Mesures แห่งฝรั่งเศส แต่ในสหรัฐอเมริกาและประเทศอื่น ๆ ที่ใช้ภาษาอังกฤษจะใช้อักษรตัวใหญ่มากกว่า ส่วนสหภาพดาราศาสตร์สากล (International Astronomical Union) เสนอให้ใช้ "au" ส่วนมาตรฐานนานาชาติ ISO 31-1 นั้นใช้ "AU"

ตารางเปรียบเทียบระยะทางหน่วยดาราศาสตร์

[แก้]

ตารางด้านล่างนี้แสดงถึงระยะทางพิจารณาจากหน่วยดาราศาสตร์ ทั้งนี้ระยะทางอาจเปลี่ยนแปลงได้ตลอดเวลา

วัตถุ ระยะทาง (AU) ขนาด คำอธิบายและหมายเหตุ อ้างอิง
โลก 0.0003 - เส้นรอบวงของโลก ณ เส้นศูนย์สูตร (ราว 40075 กิโลเมตร หรือ 24901 ไมล์) -
วินาทีแสง 0.002  - ระยะทางที่แสงเดินทางในเวลา 1 วินาที -
ดวงจันทร์ 0.0026 ระยะทางเฉลี่ยจากโลก -
รัศมีดวงอาทิตย์ 0.005  - radius of the Sun (695500 km, 432450 mi, ~110 times the radius of the Earth or 10 times the average radius of Jupiter) -
Lagrangian point 0.01   - The Lagrangian point L2 is about 1500000 กิโลเมตร (930000 ไมล์) from Earth. Unmanned space missions, such as the James Webb Space Telescope, Planck and Gaia take advantage of this sun-shielded location. [1]
นาทีแสง 0.12   - ระยะทางที่แสงเดินทางในเวลา 1 นาที -
ดาวพุธ 0.39   ระยะทางเฉลี่ยจากดวงอาทิตย์ -
ดาวศุกร์ 0.72   ระยะทางเฉลี่ยจากดวงอาทิตย์ -
โลก 1.00   average distance of the Earth's orbit from the Sun (Sunlight travels for 8 minutes and 19 seconds before reaching the Earth.) -
ดาวอังคาร 1.52   ระยะทางเฉลี่ยจากดวงอาทิตย์ -
ดาวซีรีส 2.77   average distance from the Sun. The only dwarf planet in the asteroid belt. -
ดาวพฤหัสบดี 5.20   ระยะทางเฉลี่ยจากดวงอาทิตย์ -
ดาวบีเทลจุส 5.5    - star's mean diameter (It is a red supergiant with about 1000 solar radii.) -
ชั่วโมงแสง 7.2    - ระยะทางที่แสงเดินทางในเวลา 1 ชั่วโมง -
NML Cygni 7.67   - radius of one of the largest known stars -
ดาวเสาร์ 9.58   ระยะทางเฉลี่ยจากดวงอาทิตย์ -
ดาวยูเรนัส (ดาวมฤตยู) 19.23   ระยะทางเฉลี่ยจากดวงอาทิตย์ -
ดาวเนปจูน (ดาวสมุทร/ดาวเกตุ) 30.10   ระยะทางเฉลี่ยจากดวงอาทิตย์ -
Kuiper belt 30      - begins at roughly that distance from the Sun [2]
นิวฮอไรซันส์ 32.92   - spacecraft's distance from the Sun, ข้อมูลเมื่อ 16 กรกฎาคม ค.ศ. 2015 (2015 -07-16) [3]
ดาวพลูโต 39.3    average distance from the Sun (It varies by 9.6 AU due to the dwarf planet's elliptic orbit.) -
Scattered disc 45      - roughly begins at that distance from the Sun (it overlaps with the Kuiper belt.) -
Kuiper belt 50      ± 3 ends at that distance from the Sun -
Eris 67.8    - its semi-major axis -
90377 เซดนา 76      - closest distance from the Sun (perihelion) -
90377 เซดนา 87      - distance from the Sun ข้อมูลเมื่อ 2012 (It is an object of the scattered disc and takes 11400 years to orbit the Sun.) [4]
Termination shock 94      - distance from the Sun of boundary between solar winds/interstellar winds/interstellar medium -
Eris 96.4    - distance from the Sun ข้อมูลเมื่อ 2014 (Eris and its moon are currently the most distant known objects in the Solar System apart from long-period comets and space probes, and roughly three times as far as Pluto.) [5]
Heliosheath 100      - the region of the heliosphere beyond the termination shock, where the solar wind is slowed down, more turbulent and compressed due to the interstellar medium -
วอยเอจเจอร์ 1 125      - ข้อมูลเมื่อ สิงหาคม 2013, the space probe is the furthest human-made object from the Sun. It is traveling at about 3.5 astronomical units per year. [6]
Light-day 173      - distance light travels in one day -
90377 เซดนา 942      - farthest distance from the Sun (aphelion) -
จุดเริ่มต้นขอบเขตชั้นในของเมฆออร์ต 2000      ± 1000 beginning of Hills cloud (It is the inner part of the Oort cloud and shaped like a disc or doughnut.) -
จุบสิ้นสุดขอบเขตชั้นในของเมฆออร์ต 20000      - end of the inner Oort cloud, beginning of outer Oort cloud, which is weakly bound to the Sun and believed to have a spherical shape -
ปีแสง 63241      - ระยะทางที่แสงเดินทางในเวลา 1 ปี (365.25 วัน) -
จุดสิ้นสุด

เมฆออร์ต

75000      ± 25000 distance of the outer limit of Oort cloud from the Sun (estimated, corresponds to 1.2 light-years) -
Parsec 206265      - one parsec (The parsec is defined in terms of the astronomical unit, is used to measure distances beyond the scope of the Solar System and is about 3.26 light-years.) [7]
Hill/Roche sphere 230000      - maximum extent of the Sun's gravitational field, beyond this is true interstellar medium (~3.6 light-years) [8]
ดาวพร็อกซิมาคนครึ่งม้า 268000      ± 126 ระยะทางจากดาวฤกษ์ที่ใกล้ระบบสุริยะมากที่สุด -
ดาวซิริอุส (ดาวโจร) 544000      - ระยะทางจากดาวฤกษ์ที่สว่างมากที่สุด (ประมาณ 8.6 ปีแสง) -
ดาวบีเทลจุส 40663000      - distance to the star in the constellation of Orion (~643 light-years) -
จุดกึ่งกลาง กาแลคซีทางช้างเผือก 1700000000      - ระยะทางจากดวงอาทิตย์จนถึงจุกกึ่งกลางของ กาแลคซีทางช้างเผือก -
Note: figures in this table are generally rounded, estimates, often rough estimates, and may considerably differ from other sources. Table also includes other units of length for comparison.

ดูเพิ่ม

[แก้]

อ้างอิง

[แก้]
  1. http://www.esa.int What are Lagrange points, 21 June 2013
  2. Alan Stern; Colwell, Joshua E. (1997), "Collisional Erosion in the Primordial Edgeworth-Kuiper Belt and the Generation of the 30–50 AU Kuiper Gap", The Astrophysical Journal, 490 (2): 879–882, Bibcode:1997ApJ...490..879S, doi:10.1086/304912, คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2020-03-25, สืบค้นเมื่อ 2015-09-02.
  3. ข้อมูลเมื่อ 16 กรกฎาคม ค.ศ. 2015 (2015 -07-16) [1]
  4. AstDys (90377) Sedna Ephemerides, Department of Mathematics, University of Pisa, Italy, สืบค้นเมื่อ 5 May 2011
  5. Chris Peat, Spacecraft escaping the Solar System, Heavens-Above, คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2007-04-27, สืบค้นเมื่อ 25 January 2008
  6. Voyager 1, Where are the Voyagers – NASA Voyager 1
  7. http://www.iau.org, Measuring the Universe–The IAU and astronomical units
  8. Chebotarev, G.A. (1964), "Gravitational Spheres of the Major Planets, Moon and Sun", Soviet Astronomy, 7 (5): 618–622, Bibcode:1964SvA.....7..618C