เชค แช็ค
มุมมองและกรณีตัวอย่างในบทความนี้อาจไม่ได้แสดงถึงมุมมองที่เป็นสากลของเรื่อง (สิงหาคม 2024) |
ร้านเชค แช็ค ที่รัฐแอละแบมา | |
ประเภท | บริษัทมหาชน |
---|---|
การซื้อขาย |
|
อุตสาหกรรม | ร้านอาหาร |
รูปแบบ | Fast casual |
ก่อตั้ง | กันยายน พ.ศ. 2547 นครนิวยอร์ก สหรัฐ |
ผู้ก่อตั้ง | แดเนียล เมเยอร์ |
สำนักงานใหญ่ | นครนิวยอร์ก สหรัฐ |
จำนวนที่ตั้ง |
|
พื้นที่ให้บริการ | สหรัฐ บาห์เรน จีน ฮ่องกง ญี่ปุ่น เกาหลีใต้ คูเวต เม็กซิโก ฟิลิปปินส์ กาตาร์ ซาอุดีอาระเบีย สิงคโปร์ ไทย ตุรกี สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์ สหราชอาณาจักร |
บุคลากรหลัก |
|
ผลิตภัณฑ์ | แฮมเบอร์เกอร์, ฮอทดอก, เฟรนช์ฟรายส์, ไก่, มิลค์เชค, คัสตาร์ด, เบียร์, ไวน์ |
รายได้ | US$459.31 ล้าน (2018) |
รายได้จากการดำเนินงาน | US$31.71 ล้าน (2018) |
รายได้สุทธิ | US$15.18 ล้าน (2018) |
สินทรัพย์ | US$433.50 ล้าน (2018) |
ส่วนของผู้ถือหุ้น | US$433.51 ล้าน (2018) |
พนักงาน | 6,101 (2018) |
เว็บไซต์ | www |
เชิงอรรถ / อ้างอิง [1][2] |
เชค แช็ค (อังกฤษ: Shake Shack) เป็นบริษัทที่ทำธุรกิจเครือร้านฟาสต์แคชวล จากสหรัฐ ก่อตั้งเมื่อเดือนกันยายน พ.ศ. 2547 ผู้ก่อตั้งโดยแดเนียล เมเยอร์ ก่อนก่อตั้มเริ่มแรกทำธุรกิจรถเข็นขายฮอทดอกในเมดิสันสแควร์ใน พ.ศ. 2544 และได้รับความนิยมก็เพิ่มขึ้นเรื่อยๆ[3]จนถึงในปี พ.ศ. 2547 ได้รับใบอนุญาตให้เปิดแผงขายถาวรภายในสวนสาธารณะ[4] ได้ขยายเมนูจากฮอทดอกเพิ่มแฮมเบอร์เกอร์ เฟรนช์ฟรายส์และมิลค์เชค มีสาขามากกว่า 262 สาขาในสหรัฐอเมริกา และในสาขาต่างประเทศอีก 141 สาขา
ประวัติ
[แก้]ส่วนนี้รอเพิ่มเติมข้อมูล คุณสามารถช่วยเพิ่มข้อมูลส่วนนี้ได้ |
เชค แช็คในประเทศไทย
[แก้]เริ่มตั้งแต่ในเดือนพฤษภาคม พ.ศ. 2565 ทางโซเชียลมีเดียของเชค แช็คได้ยืนยันว่าเตียงจะเปิดตัวสาขาในประเทศไทยภายในปี พ.ศ. 2566 ผู้นำเข้าแบรนด์เชค แช็คในประเทศไทยโดยบริษัท แม็กซิมส์ เคเทอร์เรอร์ จำกัด สาขาแรกตั้งอยู่ที่เซ็นทรัลเวิลด์ฝั่งอิเซตันเก่าเปิดให้บริการวันที่ 30 มีนาคม พ.ศ. 2566[5][6] และทางเชค แช็คเตรียมตั้งเป้าจะขยายสาขาในประเทศไทยอีก 15 สาขาภายในปี พ.ศ. 2575[7]
สาขาในประเทศไทย
[แก้]ชื่อสาขา | วันที่เริ่มเปิดดำเนินการ | เขต/อำเภอที่ตั้ง | จังหวัดที่ตั้ง | ตั้งอยู่ใน |
---|---|---|---|---|
ราชประสงค์ | 30 มีนาคม พ.ศ. 2566 | เขตปทุมวัน | กรุงเทพมหานคร | เซ็นทรัลเวิลด์ |
สุขุมวิท | 1 ธันวาคม พ.ศ. 2566 | เขตคลองเตย | เอ็มสเฟียร์[8][9] | |
บางนา | 6 กรกฎาคม พ.ศ. 2567 | อำเภอบางพลี | จังหวัดสมุทรปราการ | เมกาบางนา[10] |
ลุมพินี | 28 พฤศจิกายน พ.ศ. 2567 | เขตปทุมวัน | กรุงเทพมหานคร | พาเหรด แอท วัน แบงค็อก[11][12] |
อ้างอิง
[แก้]- ↑ "US SEC: Form 10-K Shake Shack Inc". U.S. Securities and Exchange Commission. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ May 5, 2018. สืบค้นเมื่อ June 27, 2018.
- ↑ McCann, K.; Tanzilo, R. (2016). Milwaukee Frozen Custard. American Palate. Arcadia Publishing Incorporated. p. 121. ISBN 978-1-62585-717-0. สืบค้นเมื่อ November 14, 2017.
- ↑ "Shake Shack — Story". Pentagram (ภาษาอังกฤษแบบอเมริกัน). เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ August 4, 2020. สืบค้นเมื่อ 2020-02-28.
- ↑ Welch, Liz (8 April 2015). "Shake Shack's Danny Meyer: 'I Was Completely Convinced I Was an Imposter'". Inc.com (ภาษาอังกฤษ). สืบค้นเมื่อ 9 August 2022.
- ↑ เปิดประวัติ Shake Shack ฟาสต์ฟู้ดอเมริกัน กับสาขาแรกในไทย
- ↑ เบอร์เกอร์สัญชาติอเมริกัน สาขาแรกในไทย ที่เซ็นทรัลเวิลด์
- ↑ Shake Shack เตรียมเปิดให้บริการในไทย ตั้งเป้า 15 สาขา ภายในปี 2032
- ↑ Limited, Bangkok Post Public Company. "New year, new spaces, new hangouts". Bangkok Post (ภาษาอังกฤษ). สืบค้นเมื่อ 2023-04-09.
- ↑ "เชค แช็ค กรุงเทพฯ สาขาสองมาแน่ที่ ดิ เอ็มสเฟียร์ พร้อมเปิดตัวด้วยนิทรรศการศิลปะจัดวาง ผลงานของศิลปินไทย P7 #beartai". #beartai (ภาษาอังกฤษแบบอเมริกัน). 2023-11-08.
- ↑ เชค แช็ค เตรียมเผยโฉมสาขาใหม่ ณ เมกาบางนา วันที่ 6 กรกฎาคม
- ↑ Shake Shack จ่อเปิดโฉมสาขาที่ 4 ในกรุงเทพ “The Neighborhood Enrichment Campaign”
- ↑ เปิดแล้ว! วันแบงค็อก คนแห่เช็คอินแน่นห้าง ช้อปร้านเด็ด แบรนด์ดัง คึกคัก
แหล่งข้อมูลอื่น
[แก้]- เว็บไซต์ทางการ
- Shake Shack Madison Square Park, New York, NY Design (2004) เก็บถาวร กันยายน 24, 2015 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน | SITE
- ข้อมูลทางด้านธุรกิจของ Shake Shack Inc.: