ไหตี่เลา
ไหตี่เลาที่ลอนดอน ประเทศอังกฤษ | |
ประเภท | มหาชน |
---|---|
การซื้อขาย |
|
อุตสาหกรรม | สถานบริการ |
ก่อตั้ง | 20 มีนาคม 1994 |
ผู้ก่อตั้ง | จาง หย่ง |
สำนักงานใหญ่ | |
จำนวนที่ตั้ง | ~1600[1] |
พื้นที่ให้บริการ | จีน (แผ่นดินใหญ่), ฮ่องกง, มาเก๊า, สหรัฐ, แคนาดา, สหราชอาณาจักร, เกาหลีใต้, ออสเตรเลีย, ญี่ปุ่น, ไต้หวัน, มาเลเซีย, สิงคโปร์, อินโดนีเซีย, ไทย, ฟิลิปปินส์, เวียดนาม, สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์ |
สินทรัพย์ | 20.61 พันล้านเหรินหมินปี้ (2019) |
พนักงาน | 60,000 คน[1] |
เว็บไซต์ | www |
บริษัทผู้ถือหุ้น ไหตี่เลา อินเตอร์เนชันเนล จำกัด | |||||||
อักษรจีนตัวย่อ | 海底捞国际控股有限公司 | ||||||
---|---|---|---|---|---|---|---|
อักษรจีนตัวเต็ม | 海底撈國際控股有限公司 | ||||||
| |||||||
หม้อไฟไหตี่เลา | |||||||
อักษรจีนตัวย่อ | 海底捞火锅 | ||||||
อักษรจีนตัวเต็ม | 海底撈火鍋 | ||||||
|
บริษัท ไหตี่เลา อินเตอร์เนชันแนล โฮลดิ้ง จำกัด (อังกฤษ: Haidilao International Holding Ltd.) หรือชื่อทางการค้าว่า ไหตี่เลา (จีน: 海底捞) เป็นเครือหม้อไฟจีนที่มีชื่อเสียงในด้านนวัตกรรมอุตสาหกรรมและระบบอัตโนมัติที่ใช้หุ่นยนต์[2] ก่อตั้งที่เจี่ยนหยาง มณฑลเสฉวนใน ค.ศ. 1994 แล้วเติบโตเป็นเครือหม้อไฟที่ใหญ่ที่สุดในประเทศจีน โดยเฉพาะในด้านการบริการที่เอาใจใส่[3] ภัตตาคารดำเนินกิจการภายใต้ชื่อ หม้อไฟไหตี่เลา (Haidilao Hot Pot) ณ ค.ศ. 2022 ไหตี่เลามีภัตตาคารประมาณ 1,300 แห่งในจีน ฮ่องกง มาเก๊า และ Super Hi International ฝ่ายต่างประเทศที่มีสาขาทั้งหมด 97 แห่งทั่วโลก เช่น สิงคโปร์ ไทย ไต้หวัน มาเลเซีย เกาหลีใต้ ญี่ปุ่น ออสเตรเลีย สหราชอาณาจักร แคนาดา และสหรัฐ[4][5] [บริษัททำรายได้ต่อปีประมาณการที่มากกว่า 10,000 ล้านเหรินหมินปี้[6]
ศัพทมูลวิทยา
[แก้]ในภาษาจีนกลาง ไหตี่เลา สามารถแปลได้ว่า การประมงทะเลน้ำลึก หรือตรงตัวว่า "การตักก้นมหาสมุทร"[7] ต้นตอคำนี้มาจากภาษิตจีนว่า ไหตี่เลาเยฺว่ (海底捞月, hǎidǐlāoyuè, แปล. "ตกปลาเพื่อจันทรา") เป็นอุปมาที่หมายถึง ความพยายามที่สิ้นหวัง[8] สำนวนนี้เดิมมีที่มาจากบทกวีพุทธศาสนาชื่อ เจิ้งเต้าเกอ (证道歌)[8] ผู้เล่นไพ่นกกระจอกก็ใช้คำนี้สื่อถึงสถานการณ์ที่พบได้ยากหรือโชคดีเมื่อผู้เล่นชนะด้วยไพ่ตัวสุดท้าย[9][10]
ประวัติ
[แก้]ส่วนนี้รอเพิ่มเติมข้อมูล คุณสามารถช่วยเพิ่มข้อมูลส่วนนี้ได้ |
อ้างอิง
[แก้]- ↑ 1.0 1.1 "海底捞".
- ↑ Bandoim, Lana (26 October 2018). "Beijing's First Restaurant With Fully Automated Kitchen Opens". Forbes. สืบค้นเมื่อ 4 December 2022.
- ↑ "Hotpot giant Haidilao set to enter Hong Kong soon". China Daily. 17 February 2017. สืบค้นเมื่อ 25 August 2017.
- ↑ Ho-him, Chan (14 July 2022). "China hotpot chain Haidilao spins off overseas unit". Financial Times. สืบค้นเมื่อ 5 December 2022.
- ↑ "Store Locator". Super Hi International: Haidilao. สืบค้นเมื่อ 5 December 2022.
- ↑ "China hotpot chain Haidilao soars on surge in first-half profit". Reuters (ภาษาอังกฤษ). 2023-07-31. สืบค้นเมื่อ 2023-09-19.
- ↑ Ambler, Pamela (3 October 2018). "Hot Pot Hospitality: Haidilao Chain Creates The World's Richest Restaurant Magnate". Forbes. สืบค้นเมื่อ 4 December 2022.
- ↑ 8.0 8.1 "海底捞月". ZDIC (ภาษาจีน). สืบค้นเมื่อ 5 December 2022.
- ↑ "Zhang Yong". Week in China. 19 October 2018. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2023-03-26. สืบค้นเมื่อ 4 December 2022.
- ↑ "Spice of success". China Daily. 4 March 2011. สืบค้นเมื่อ 25 August 2017.
อ่านเพิ่ม
[แก้]- He, Laura (2018-09-18). "Chinese hotpot chain Haidilao's US$963 million IPO makes it Hong Kong's fifth largest this year". South China Morning Post.