สเปซเอ็กซ์แร็พเตอร์
หน้าตา
เครื่องยนต์จรวดแร็พเตอร์ 1 เตรียมสำหรับขนส่งนอกโรงงานของสเปซเอ็กซ์ในฮอว์ธอร์น, แคลิฟอร์เนีย | |
Country of origin | สหรัฐอเมริกา |
---|---|
Manufacturer | สเปซเอ็กซ์ |
Associated L/V | สตาร์ชิป |
Status | กำลังผลิต |
เชื้อเพลิงเหลว | |
Configuration | |
Chamber | 1 |
Nozzle ratio | |
Performance | |
Thrust | แร็พเตอร์ 1: 185 tf (1.81 MN; 408,000 lbf)[3] แร็พเตอร์ 2: แร็พเตอร์ 3: 280 tf (2.75 MN; 617,000 lbf) |
Thrust-to-weight ratio | แร็พเตอร์ 1: 88.94 แร็พเตอร์ 2: 141.1 แร็พเตอร์ 3: 183.6 |
Chamber pressure | 350 bar (5,100 psi) |
Isp (vac.) | 380 s (3.7 km/s)[6] |
Isp (SL) | 327 s (3.21 km/s) |
Dimensions | |
Dry weight | แร็พเตอร์ 1: 2,080 kg (4,590 lb) แร็พเตอร์ 2: 1,630 kg (3,590 lb) แร็พเตอร์ 3: 1,525 kg (3,362 lb) |
สเปซเอ็กซ์แร็พเตอร์ (SpaceX Raptor) เป็นตระกูลเครื่องยนต์จรวดที่พัฒนาและผลิตโดยสเปซเอ็กซ์ ถือเป็นเครื่องยนต์จรวดลำดับที่สามในประวัติศาสตร์ที่ออกแบบด้วยระบบการเผาไหม้แบบหลายขั้นตอนฟูลโฟลว์ (FFSC) และเป็นเครื่องยนต์แรกในประเภทนี้ที่ขับเคลื่อนยานพาหนะระหว่างการบินได้สำเร็จ[7] เครื่องยนต์นี้ใช้พลังงานจากเชื้อเพลิงจรวดเหลวที่เป็นส่วนผสมของมีเทนเหลวและออกซิเจนเหลว ซึ่งรู้จักกันในชื่อเมทาลอกซ์ (methalox)
สตาร์ชิปซึ่งเป็นยานบรรทุกหนักของสเปซเอ็กซ์ ใช้เครื่องยนต์แรพเตอร์ในบูสเตอร์ซูเปอร์เฮฟวี และในยานสตาร์ชิปส่วนที่สอง[8] ภารกิจของสตาร์ชิปคือ การขนส่งดาวเทียมสู่วงโคจรของโลก และมีแผนที่จะใช้ในภารกิจไปยังดวงจันทร์และดาวอังคาร[9] เครื่องยนต์นี้ถูกออกแบบเพื่อสามารถนำกลับมาใช้ใหม่ได้ด้วยการบำรุงรักษาน้อยที่สุด[10]
อ้างอิง
[แก้]- ↑ Sierra Engineering & Software, Inc. (18 June 2019). "Exhaust Plume Calculations for SpaceX Raptor Booster Engine" (PDF). p. 1. เก็บ (PDF)จากแหล่งเดิมเมื่อ 20 October 2021. สืบค้นเมื่อ 17 September 2021.
- ↑ Dodd, Tim (7 August 2021). http://youtube.com/watch?v=SA8ZBJWo73E. Everyday Astronaut. 4 นาที. Youtube. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 17 February 2024. สืบค้นเมื่อ 23 February 2024.
{{cite episode}}
:|url=
missing title (help) - ↑ Bergin, Chris (2022-01-23). "Raptor 2 testing at full throttle on the SpaceX McGregor test stands". NASASpaceFlight.com (ภาษาอังกฤษแบบอเมริกัน). สืบค้นเมื่อ 2022-03-22.
- ↑ https://www.youtube.com/watch?v=ALiNmzoo1_E. Everyday Astronaut. 14 July 2022. Youtube. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 15 July 2022. สืบค้นเมื่อ 15 July 2022.
{{cite episode}}
:|url=
missing title (help) - ↑ "Starship : Official SpaceX Starship Page". สืบค้นเมื่อ 24 May 2020.
- ↑ Musk, Elon [@elonmusk] (September 9, 2019). (ทวีต) https://x.com/elonmusk/status/1171118891671490560 – โดยทาง ทวิตเตอร์.
{{cite web}}
:|title=
ไม่มีหรือว่างเปล่า (help) - ↑ Dodd, Tim (2019-05-25). "Is SpaceX's Raptor engine the king of rocket engines?". Everyday Astronaut (ภาษาอังกฤษแบบอเมริกัน). Youtube. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 22 May 2023. สืบค้นเมื่อ 2023-05-22.
- ↑ "Starship Users Guide, Revision 1.0, March 2020" (PDF). SpaceX/files. SpaceX. March 2020. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม (PDF)เมื่อ 2 April 2020. สืบค้นเมื่อ 18 May 2020.
- ↑ Leone, Dan (25 October 2013). "SpaceX Could Begin Testing Methane-fueled Engine at Stennis Next Year". Space News. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 25 October 2013. สืบค้นเมื่อ 26 October 2013.
- ↑ Neff, William; Steckelberg, Aaron; Davenport, Christian (9 January 2023). "The rockets NASA and SpaceX plan to send to the moon". The Washington Post. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 17 April 2023. สืบค้นเมื่อ 28 August 2023.
แหล่งข้อมูลอื่น
[แก้]วิกิมีเดียคอมมอนส์มีสื่อที่เกี่ยวข้องกับ สเปซเอ็กซ์แร็พเตอร์
- SpaceX Raptor Engine Test on 25 September 2016, SciNews, video, September 2016.
- GPUs to Mars: Full-scale Simulation of SpaceX's Mars Rocket Engine, Adam Lichtl and Steven Jones, GPU Technology Conference, spring 2015.
- unofficial Raptor engine log infographic