รถไฟใต้ดินไทน์แอนด์เวียร์
รถไฟใต้ดินไทน์แอนด์เวียร์ | |||
---|---|---|---|
ระบบแผนที่เครือข่ายรางรถไฟใต้ดินไทน์แอนด์เวียร์ | |||
ข้อมูลทั่วไป | |||
เจ้าของ | Tyne and Wear Passenger Transport Executive (Nexus) | ||
พื้นที่ให้บริการ | |||
ที่ตั้ง | ไทน์แอนด์เวียร์ | ||
ประเภท | |||
จำนวนสาย | 2 | ||
จำนวนสถานี | 60 | ||
ผู้โดยสารต่อปี | 24.3 ล้านคน (2021/22)[2] 158.8% | ||
สำนักงานใหญ่ |
| ||
เว็บไซต์ | www | ||
การให้บริการ | |||
เริ่มดำเนินงาน | 11 สิงหาคม 1980 | ||
ผู้ดำเนินงาน | Tyne and Wear Passenger Transport Executive (Nexus) | ||
จำนวนขบวน | 87 Metrocars | ||
ความยาวขบวน | 27.81 m (91 ft 3 in) | ||
ข้อมูลทางเทคนิค | |||
ระยะทาง | 77.5 km (48.2 mi)[3] | ||
รางกว้าง | 4 ft 8 1⁄2 in (1,435 mm) สแตนดาร์ดเกจ | ||
การจ่ายไฟฟ้า | ระบบจ่ายไฟฟ้าเหนือหัว 1,500 V DC | ||
ความเร็วสูงสุด | 80 km/h (50 mph) | ||
|
รถไฟใต้ดินไทน์แอนด์เวียร์ (อังกฤษ: Tyne and Wear Metro) เป็นระบบขนส่งมวลชนเร็วของรถไฟรางเบาทั้งบนและใต้ดิน[4][5][6] ให้บริการนิวคาสเซิลอะพอนไทน์, เกตส์เฮด, นอร์ทไทน์ไซด์, เซาท์ไทน์ไซด์ และนครซันเดอร์ลันด์ (รวมกันอยู่ในไทน์แอนด์เวียร์) เครือข่ายนี้เปิดให้บริการในเดือนสิงหาคม ค.ศ. 1980 และปัจจุบันให้บริการ 60 สถานี บนรางสองรางที่มีระยะทาง 77.5 km (48.2 mi)[7][8][9][3] รถไฟใต้ดินนี้สามารถเข้าถึงได้ทั้งทางสถานีบนและใต้ดิน โดยมีการกล่าวถึงสถานีเป็ร the "ระบบรถไฟรางเบาสมัยใหม่อันแรกในสหราชอาณาจักร"[10]
ใน ค.ศ. 2018–19 มีผู้โดยสารใช้บริการประมาณ 36.4 ล้านคน มำให้เป็นเครือข่ายรถไฟรางเบาที่มีผู้ใช้งานมากเป็นอันดับ 3 ในสหราชอาณาจักร โดยเป็นรองเพียงรถไฟเบาสายดอคแลนดส์ของลอนดอน (121.8 ล้านคน) และแมนเชสเตอร์เมโทรลิงก์ (43.7 ล้านคน)[11]
เส้นทาง
[แก้]ปัจจุบันมี 2 เส้นทาง ได้แก่ สายสีเขียว วิ่งระหว่างท่าอากาศยานนิวคาสเซิล และ South Hylton กับสายสีเหลือง วิ่งระว่างสถานี St James และ South Shields[12]
-
สถานีท่าอากาศยานนิวคาสเซิล
-
สถานีกลางรีเกนต์
-
สถานี Gosforth ใต้
-
สถานีปีลอว์
-
สถานีซันเดอร์แลนด์
-
สถานีเซนต์เจมส์
-
สถานี Manors
-
สถานีเบนตัน
-
สถานีลองเบนตัน
-
สถานี Shields ใต้
ดูเพิ่ม
[แก้]อ้างอิง
[แก้]- ↑ The Highway Engineer, Volume 23. Institution of Highway Engineers. 1976. p. 44. สืบค้นเมื่อ 21 March 2023.
- ↑ "Light rail and tram statistics, England: year ending March 2022". Department for Transport. 24 August 2022.
- ↑ 3.0 3.1 Schwandle, Robert (2015). Tram Atlas Britain & Ireland. Berlin, Germany: Robert Schwandl. pp. 132–137. ISBN 9783936573459.
- ↑ "Tyne and Wear Metro – UK Tram".
- ↑ "Light Rail and Tram Statistics, England: 2019/20" (PDF). Department for Transport.
- ↑ "The Tyne and Wear Passenger Transport (Sunderland) Order 1998". Legislation.gov.uk. สืบค้นเมื่อ 21 May 2021.
- ↑ Davoudi, S.; Gillard, A.; Healey, P.; Pullen, B.; Raybould, S.; Robinson, F.; Silcock, D.; Usher, D.; Wymer, C. (1 January 1993). "The longer term effects of the Tyne and Wear Metro". TRL. สืบค้นเมื่อ 30 June 2018.
- ↑ "Tyne & Wear Metro Rapid Transit System, United Kingdom". Railway Technology. สืบค้นเมื่อ 14 March 2013.
- ↑ "Tyne and Wear Metro: Stations". TheTrams. สืบค้นเมื่อ 1 March 2017.
- ↑ "How Metro was built". Nexus. สืบค้นเมื่อ 4 April 2015.
- ↑ "Light rail and tram statistics, England: 2018/19" (PDF). Department for Transport. 19 June 2019. สืบค้นเมื่อ 27 February 2020.
- ↑ "UrbanRail.Net - Europe - U.K. - NEWCASTLE Metro". UrbanRail.net. สืบค้นเมื่อ 2013-07-24.
แหล่งข้อมูลอื่น
[แก้]แผนที่เส้นทาง:
ไฟล์ KML (แก้ไข • วิธีใช้)
|