ข้ามไปเนื้อหา

ภาษายะฮาย

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
ภาษายะฮาย
ประเทศที่มีการพูดประเทศมาเลเซีย ส่วนน้อยในประเทศไทย
ชาติพันธุ์1,800 (2008)[1]
จำนวนผู้พูด1,000 คนในประเทศมาเลเซีย  (2006)[1]
ตระกูลภาษา
ออสโตรเอเชียติก
รหัสภาษา
ISO 639-3jhi

ภาษายะฮาย เป็นภาษากลุ่มมอญ-เขมรพื้นเมืองที่พูดโดยชาวยะฮายที่อาศัยอยู่ในป่าฝนบนภูเขาทางตอนเหนือของมาเลเซียตะวันตกและภาคใต้สุดของประเทศไทย ถือเป็นภาษาอัซลีเหนือที่มีผู้พูดมากที่สุด แม้ว่าจะมีผู้พูดเพียงค่อนข้างมากกว่า 1,000 คน ภาษายะฮายไม่ได้เป็นภาษาในภาวะเสี่ยงใกล้สูญ เนื่องจากพ่อแม่ที่ใช้ภาษานี้ยังถ่ายทอดภาษานี้แก่รุ่นลูกในฐานะภาษาแม่[2]

ภาษายะฮายมีศัพท์เฉพาะไว้อธิบายกลิ่น[3]

อ้างอิง

[แก้]
  1. 1.0 1.1 ภาษายะฮาย ที่ Ethnologue (18th ed., 2015) (ต้องสมัครสมาชิก)
  2. Burenhult, Niclas (2005). A Grammar of Jahai (PDF). Pacific Linguistics 566. Canberra: Pacific Linguistics, The Australian National University. doi:10.15144/pl-566. hdl:1885/146729. ISBN 0-85883-554-1.
  3. Majid, Asifa; Burenhult, Niclas (2014). "Odors are expressible in language, as long as you speak the right language". Cognition. 130 (2): 266–270. doi:10.1016/j.cognition.2013.11.004. hdl:11858/00-001M-0000-0014-9D63-D. ISSN 0010-0277. PMID 24355816. S2CID 16257849.

แหล่งข้อมูลอื่น

[แก้]