ฟุตบอลเอเชียเยาวชนอายุไม่เกิน 23 ปี 2020
รายละเอียดการแข่งขัน | |
---|---|
ประเทศเจ้าภาพ | ประเทศไทย |
วันที่ | 8–26 มกราคม พ.ศ. 2563[1] |
ทีม | 16 (จาก 1 สมาพันธ์) |
สถานที่ | 4 (ใน 4 เมืองเจ้าภาพ) |
อันดับเมื่อสิ้นสุดการแข่งขัน | |
ชนะเลิศ | ![]() |
รองชนะเลิศ | ![]() |
อันดับที่ 3 | ![]() |
อันดับที่ 4 | ![]() |
สถิติการแข่งขัน | |
จำนวนนัดที่แข่งขัน | 32 |
จำนวนประตู | 69 (2.16 ประตูต่อนัด) |
ผู้ชม | 93,872 (2,934 คนต่อนัด) |
ผู้ทำประตูสูงสุด | ![]() ![]() ![]() ![]() ![]() |
ผู้เล่นยอดเยี่ยม | ![]() |
ผู้รักษาประตูยอดเยี่ยม | ![]() |
รางวัลแฟร์เพลย์ | ![]() |
ฟุตบอลเอเชียเยาวชนอายุไม่เกิน 23 ปี (หรือ เอเอฟซี ยู-23 เอเชียนคัพ; อังกฤษ: 2020 AFC U-23 Championship) เป็นการแข่งขันฟุตบอลเอเชียเยาวชนอายุไม่เกิน 23 ปี ครั้งที่ 4 จัดขึ้นโดยสมาพันธ์ฟุตบอลเอเชีย (เอเอฟซี) ซึ่งการแข่งขันนี้เป็นการแข่งขันฟุตบอลแบบจำกัดอายุระดับนานาชาติสำหรับทีมชาติชุดเยาวชนอายุไม่เกิน 23 ปีในทวีปเอเชีย จัดขึ้นระหว่างวันที่ 8-26 มกราคม พ.ศ. 2563 โดยประเทศไทยเป็นเจ้าภาพ แข่งขันกระจายใน 4 จังหวัด ได้แก่ กรุงเทพมหานคร ปทุมธานี บุรีรัมย์ และสงขลา มี 16 ทีมเข้าร่วมการแข่งขัน
ฟุตบอลเอเชียเยาวชนอายุไม่เกิน 23 ปี เป็นการแข่งขันเพื่อคัดเลือกเข้าสู่การแข่งขันฟุตบอลในโอลิมปิกฤดูร้อนโดย 3 อันดับแรกของการแข่งขันนี้ จะได้เข้าร่วมการแข่งขันฟุตบอลโอลิมปิกฤดูร้อน 2020 ที่ประเทศญี่ปุ่น โดยเป็นตัวแทนของโซนเอเชีย[2] ซึ่งทีมชาติญี่ปุ่น ได้เข้าร่วมการแข่งขันอัตโนมัติเนื่องจากเป็นเจ้าภาพโอลิมปิกฤดูร้อน 2020 หากทีมชาติญี่ปุ่นเข้าถึงรอบรองชนะเลิศในครั้งนี้ ทีมอื่นๆที่เข้ารอบรองชนะเลิศอีก 3 ทีม จะได้เข้าร่วมการแข่งขันโอลิมปิกฤดูร้อน 2020 ทั้งหมด[3]
โดยทีมชาติอุซเบกิสถาน เป็นผู้ชนะเลิศในปีล่าสุด
การคัดเลือกเจ้าภาพ
[แก้]ประเทศหลายประเทศซึ่งสนใจเป็นเจ้าภาพเดี่ยวในการแข่งขันนี้ ได้แก่ ประเทศออสเตรเลีย, ประเทศมาเลเซีย, ประเทศไทย และประเทศเวียดนาม[4][5] โดยประเทศไทยได้รับคัดเลือกเป็นเจ้าภาพในการประชุมคณะกรรมการการแข่งขันของสมาพันธ์ฟุตบอลเอเชียที่ โตเกียว เมื่อเดือนสิงหาคม พ.ศ. 2561[6]
รอบคัดเลือก
[แก้]รอบคัดเลือกจะจัดขึ้นระหว่างวันที่ 22–26 มีนาคม พ.ศ. 2562 ตามปฏิทินการแข่งขันนานาชาติฟีฟ่า[7]
ทีมที่เข้ารอบ
[แก้]รายชื่อ 16 ทีมที่เข้ารอบในการแข่งขันรอบสุดท้าย
ทีม | เข้ารอบในฐานะ | จำนวนครั้งที่เข้าร่วม | ผลงานที่ดีที่สุดที่เคยเข้าร่วมแข่งขัน |
---|---|---|---|
![]() |
เจ้าภาพ | ครั้งที่ 3 | รอบแบ่งกลุ่ม (2016, 2018) |
![]() |
ทีมชนะเลิศ กลุ่มเอ | ครั้งที่ 3 | อันดับ 3 (2018) |
![]() |
ทีมชนะเลิศ กลุ่มบี | ครั้งที่ 1 | ครั้งแรก |
![]() |
ทีมชนะเลิศ กลุ่มซี | ครั้งที่ 4 | ชนะเลิศ (2013) |
![]() |
ทีมชนะเลิศ กลุ่มดี | ครั้งที่ 3 | รอบ 8 ทีมสุดท้าย (2013, 2016) |
![]() |
ทีมชนะเลิศ กลุ่มอี | ครั้งที่ 4 | อันดับ 3 (2013) |
![]() |
ทีมชนะเลิศ กลุ่มเอฟ | ครั้งที่ 4 | ชนะเลิศ (2018) |
![]() |
ทีมชนะเลิศ กลุ่มจี | ครั้งที่ 4 | รอบ 8 ทีมสุดท้าย (2016) |
![]() |
ทีมชนะเลิศ กลุ่มเอช | ครั้งที่ 4 | รองชนะเลิศ (2016) |
![]() |
ทีมชนะเลิศ กลุ่มไอ | ครั้งที่ 4 | ชนะเลิศ (2016) |
![]() |
ทีมชนะเลิศ กลุ่มเจ | ครั้งที่ 4 | รอบแบ่งกลุ่ม (2013, 2016, 2018) |
![]() |
ทีมชนะเลิศ กลุ่มเค | ครั้งที่ 3 | รองชนะเลิศ (2018) |
![]() |
ทีมรองชนะเลิศ กลุ่มเอช[note 1] | ครั้งที่ 4 | รอบ 8 ทีมสุดท้าย (2013) |
![]() |
ทีมรองชนะเลิศ กลุ่มซี[note 1] | ครั้งที่ 3 | รอบ 8 ทีมสุดท้าย (2016) |
![]() |
ทีมรองชนะเลิศ กลุ่มอี[note 1] | ครั้งที่ 4 | รอบ 8 ทีมสุดท้าย (2013) |
![]() |
ทีมรองชนะเลิศ กลุ่มดี[note 1] | ครั้งที่ 4 | รองชนะเลิศ (2013) |
Notes:
- ↑ 1.0 1.1 1.2 1.3 สี่ทีม ทีมรองชนะเลิศที่ดีที่สุด ได้สิทธิ์สำหรับรอบสุดท้าย.
สนามแข่งขัน
[แก้]เบื้องต้นสมาคมกีฬาฟุตบอลแห่งประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ์ ได้เสนอไปจำนวนทั้งหมด 7 สนามทั่วประเทศ สมาพันธ์ฟุตบอลเอเชียเลือกสนามที่จะใช้ในการแข่งขันครั้งนี้จำนวน 4 สนาม ดังนี้[8]
กรุงเทพมหานคร | จังหวัดปทุมธานี | ||
---|---|---|---|
ราชมังคลากีฬาสถาน | สนามกีฬาธรรมศาสตร์ รังสิต | ||
ความจุ : 49,722 ที่นั่ง | ความจุ : 20,000 ที่นั่ง | ||
![]() |
![]() | ||
จังหวัดบุรีรัมย์ | จังหวัดสงขลา | ||
ช้างอารีนา | สนามกีฬาติณสูลานนท์ | ||
ความจุ : 32,600 ที่นั่ง | ความจุ : 45,000 ที่นั่ง | ||
![]() |
![]() |
การจับสลาก
[แก้]การจับสลากสำหรับรอบสุดท้ายได้จัดขึ้นเมื่อวันที่ 26 กันยายน พ.ศ. 2562, 15:00 ICT (UTC+7), ที่โรงแรมสวิสโอเท็ล แบงค็อก รัชดา ใน กรุงเทพมหานคร.[9][10][11] 16 ทีมได้ถูกจับสลากอยู่ในสี่กลุ่มที่มีสี่ทีม. แต่ละทีมเป็นทีมวางตามผลงานประสิทธิภาพของพวกเขาใน ฟุตบอลเอเชียเยาวชนอายุไม่เกิน 23 ปี 2018 รอบสุดท้าย และ รอบคัดเลือก, กับชาติเจ้าภาพ ประเทศไทย ได้สิทธิ์เป็นทีมวางโดยอัตโนมัติและถูกจัดให้อยู่ในตำแหน่ง A1 ในการจับสลาก[12]
โถ 1 | โถ 2 | โถ 3 | โถ 4 |
---|---|---|---|
|
ผู้เล่น
[แก้]รอบแบ่งกลุ่ม
[แก้]สองทีมที่ดีที่สุดของแต่ละกลุ่มจะได้ผ่านเข้าสู่รอบ 8 ทีมสุดท้าย.
เวลาทั้งหมดคือเวลาท้องถิ่น, ICT (UTC+7).
แมตช์เดย์ | วันที่แข่งขัน | การประกบคู่ |
---|---|---|
แมตช์เดย์ 1 | 8–10 มกราคม พ.ศ. 2563 | 1 v 4, 2 v 3 |
แมตช์เดย์ 2 | 11–13 มกราคม พ.ศ. 2563 | 4 v 2, 3 v 1 |
แมตช์เดย์ 3 | 14–16 มกราคม พ.ศ. 2563 | 1 v 2, 3 v 4 |
กลุ่ม เอ
[แก้]อันดับ | ทีม | เล่น | ชนะ | เสมอ | แพ้ | ได้ | เสีย | ต่าง | คะแนน | การผ่านเข้ารอบ |
---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|
1 | ![]() |
3 | 1 | 2 | 0 | 4 | 3 | +1 | 5 | รอบแพ้คัดออก |
2 | ![]() |
3 | 1 | 1 | 1 | 7 | 3 | +4 | 4 | |
3 | ![]() |
3 | 0 | 3 | 0 | 4 | 4 | 0 | 3 | |
4 | ![]() |
3 | 0 | 2 | 1 | 3 | 8 | −5 | 2 |
อิรัก ![]() | 1–1 | ![]() |
---|---|---|
Nassif ![]() |
รายงาน | Piscopo ![]() |
ออสเตรเลีย ![]() | 2–1 | ![]() |
---|---|---|
D'Agostino ![]() |
รายงาน | อานนท์ ![]() |
ออสเตรเลีย ![]() | 1–1 | ![]() |
---|---|---|
Najjarine ![]() |
รายงาน | Marhoon ![]() |
กลุ่ม บี
[แก้]อันดับ | ทีม | เล่น | ชนะ | เสมอ | แพ้ | ได้ | เสีย | ต่าง | คะแนน | การผ่านเข้ารอบ |
---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|
1 | ![]() |
3 | 2 | 1 | 0 | 3 | 1 | +2 | 7 | รอบแพ้คัดออก |
2 | ![]() |
3 | 1 | 1 | 1 | 4 | 4 | 0 | 4 | |
3 | ![]() |
3 | 0 | 3 | 0 | 3 | 3 | 0 | 3 | |
4 | ![]() |
3 | 0 | 1 | 2 | 3 | 5 | −2 | 1 |
ญี่ปุ่น ![]() | 1–2 | ![]() |
---|---|---|
Meshino ![]() |
รายงาน | Al Khulaif ![]() Ghareeb ![]() |
ซาอุดีอาระเบีย ![]() | 1–0 | ![]() |
---|---|---|
Al-Buraikan ![]() |
รายงาน |
กลุ่ม ซี
[แก้]อันดับ | ทีม | เล่น | ชนะ | เสมอ | แพ้ | ได้ | เสีย | ต่าง | คะแนน | การผ่านเข้ารอบ |
---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|
1 | ![]() |
3 | 3 | 0 | 0 | 5 | 2 | +3 | 9 | รอบแพ้คัดออก |
2 | ![]() |
3 | 1 | 1 | 1 | 4 | 3 | +1 | 4 | |
3 | ![]() |
3 | 1 | 1 | 1 | 3 | 3 | 0 | 4 | |
4 | ![]() |
3 | 0 | 0 | 3 | 0 | 4 | −4 | 0 |
เกาหลีใต้ ![]() | 1–0 | ![]() |
---|---|---|
Dong-jun-lee ![]() |
รายงาน |
อิหร่าน ![]() | 1–2 | ![]() |
---|---|---|
Shekari ![]() |
รายงาน | Lee Dong-jun ![]() Cho Kyu-seong ![]() |
จีน ![]() | 0–2 | ![]() |
---|---|---|
รายงาน | Kobilov ![]() Tukhtasinov ![]() |
อุซเบกิสถาน ![]() | 1–2 | ![]() |
---|---|---|
Abdixolikov ![]() |
รายงาน | Oh Se-hun ![]() |
กลุ่ม ดี
[แก้]อันดับ | ทีม | เล่น | ชนะ | เสมอ | แพ้ | ได้ | เสีย | ต่าง | คะแนน | การผ่านเข้ารอบ |
---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|
1 | ![]() |
3 | 1 | 2 | 0 | 3 | 1 | +2 | 5 | รอบแพ้คัดออก |
2 | ![]() |
3 | 1 | 2 | 0 | 3 | 2 | +1 | 5 | |
3 | ![]() |
3 | 1 | 0 | 2 | 3 | 5 | −2 | 3 | |
4 | ![]() |
3 | 0 | 2 | 1 | 1 | 2 | −1 | 2 |
เกาหลีเหนือ ![]() | 1–2 | ![]() |
---|---|---|
Sung-joo-lean ![]() |
รายงาน | อะตีห์ ![]() Al Zebdieh ![]() |
สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์ ![]() | 2–0 | ![]() |
---|---|---|
Al-Hammadi ![]() Al-Ameri ![]() |
รายงาน |
จอร์แดน ![]() | 0–0 | ![]() |
---|---|---|
รายงาน |
เวียดนาม ![]() | 1–2 | ![]() |
---|---|---|
Nguyễn Tiến Linh ![]() |
รายงาน | Bùi Tiến Dũng ![]() Ri Chung-gyu ![]() |
จอร์แดน ![]() | 1–1 | ![]() |
---|---|---|
Al-Khawaldeh ![]() |
รายงาน | Z. Al-Ameri ![]() |
รอบแพ้คัดออก
[แก้]สายการแข่งขัน
[แก้]รอบ 8 ทีมสุดท้าย | รอบรองชนะเลิศ | รอบชิงชนะเลิศ | ||||||||
18 มกราคม – กรุงเทพมหานคร | ||||||||||
![]() (ต่อเวลา) | 1 | |||||||||
22 มกราคม – ปทุมธานี | ||||||||||
![]() | 0 | |||||||||
![]() | 0 | |||||||||
19 มกราคม – ปทุมธานี | ||||||||||
![]() | 2 | |||||||||
![]() | 2 | |||||||||
26 มกราคม – กรุงเทพมหานคร | ||||||||||
![]() | 1 | |||||||||
![]() (ต่อเวลา) | 1 | |||||||||
18 มกราคม – ปทุมธานี | ||||||||||
![]() | 0 | |||||||||
![]() | 1 | |||||||||
22 มกราคม – กรุงเทพมหานคร | ||||||||||
![]() | 0 | |||||||||
![]() | 1 | |||||||||
19 มกราคม – กรุงเทพมหานคร | ||||||||||
![]() | 0 | นัดชิงอันดับ 3 | ||||||||
![]() | 1 | |||||||||
25 มกราคม – กรุงเทพมหานคร | ||||||||||
![]() | 5 | |||||||||
![]() | 1 | |||||||||
![]() | 0 | |||||||||
รอบ 8 ทีมสุดท้าย
[แก้]ซาอุดีอาระเบีย ![]() | 1–0 | ![]() |
---|---|---|
Al-Hamdan ![]() |
รายงาน |
ออสเตรเลีย ![]() | 1–0 (ต่อเวลาพิเศษ) | ![]() |
---|---|---|
Toure ![]() |
รายงาน |
เกาหลีใต้ ![]() | 2–1 | ![]() |
---|---|---|
Cho Kyu-seong ![]() Lee Dong-gyeong ![]() |
รายงาน | Al-Naimat ![]() |
สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์ ![]() | 1–5 | ![]() |
---|---|---|
Z. Al-Ameri ![]() |
รายงาน | Alijanov ![]() Kobilov ![]() Bozorov ![]() Yakhshiboev ![]() Tukhtasinov ![]() |
รอบรองชนะเลิศ
[แก้]ทีมชนะเลิศได้สิทธิ์ โอลิมปิกฤดูร้อน 2020.
ซาอุดีอาระเบีย ![]() | 1–0 | ![]() |
---|---|---|
Al-Hamdan ![]() |
รายงาน |
ออสเตรเลีย ![]() | 0–2 | ![]() |
---|---|---|
รายงาน | Kim Dae-won ![]() Lee Dong-gyeong ![]() |
นัดชิงอันดับ 3
[แก้]ทีมชนะเลิศได้สิทธิ์ โอลิมปิกฤดูร้อน 2020
ออสเตรเลีย ![]() | 1–0 | ![]() |
---|---|---|
D'Agostino ![]() |
รายงาน |
รอบชิงชนะเลิศ
[แก้]เกาหลีใต้ ![]() | 1–0 (ต่อเวลาพิเศษ) | ![]() |
---|---|---|
Jeong Tae-wook ![]() |
รายงาน |
ชนะเลิศและรางวัล
[แก้]ฟุตบอลเอเชียเยาวชนอายุไม่เกิน 23 ปี 2020 |
---|
![]() เกาหลีใต้ 1 สมัย |
รางวัล
[แก้]รางวัลด้านล่างนี้ได้รับเมื่อสิ้นสุดการแข่งขัน:
ดาวซัลโวสูงสุด[13] | ผู้เล่นทรงคุณค่า[14] | ผู้รักษาประตูยอดเยี่ยม[13] | รางวัลแฟร์เพลย์[13] |
---|---|---|---|
![]() |
![]() |
![]() |
![]() |
ผู้ทำประตู
[แก้]การแข่งขันทั้งหมดมี 69 ประตูที่ทำได้ใน 32 นัด, สำหรับค่าเฉลี่ย 2.16 ประตูต่อนัด
- 3 ประตู
- 2 ประตู
- 1 ประตู
Ramy Najjarine
Reno Piscopo
Al Hassan Toure
Sayed Hashim Isa
Reza Dehghani
Omid Noorafkan
Reza Shekari
Amir Al-Ammari
Ryotaro Meshino
Koki Ogawa
Yuki Soma
Ihab Al-Khawaldeh
Yazan Al-Naimat
Mohammad Bani Atieh
Omar Hani
Ri Chung-gyu
Ryang Hyon-ju
Yusuf Abdurisag
Abdullah Al-Ahrak
Firas Al-Buraikan
Abdullah Al-Hamdan
Ayman Al-Khulaif
Nasser Al-Omran
Abdulrahman Ghareeb
Jeong Tae-wook
Kim Dae-won
อานนท์ อมรเลิศศักดิ์
สุภโชค สารชาติ
Khalifa Al-Hammadi
Bobur Abdikholikov
Ilkhom Alijanov
Oybek Bozorov
Jasurbek Yakhshiboev
Nguyễn Tiến Linh
- 1 การทำเข้าประตูตัวเอง
Yosief Mohammad (ในนัดที่พบกับ กาตาร์)
Bùi Tiến Dũng (ในนัดที่พบกับ เกาหลีเหนือ)
การจัดอันดับแต่ละทีม
[แก้]As per statistical convention in football, matches decided in extra time are counted as wins and losses, while matches decided by penalty shoot-outs are counted as draws.
อันดับ | ทีม | เล่น | ชนะ | เสมอ | แพ้ | ได้ | เสีย | ต่าง | คะแนน | สรุปผลงานรอบสุดท้าย |
---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|
1 | ![]() |
6 | 6 | 0 | 0 | 10 | 3 | +7 | 18 | ชนะเลิศ |
2 | ![]() |
6 | 4 | 1 | 1 | 5 | 2 | +3 | 13 | รองชนะเลิศ |
3 | ![]() |
6 | 3 | 2 | 1 | 6 | 5 | +1 | 11 | อันดับ 3 |
4 | ![]() |
6 | 2 | 1 | 3 | 9 | 6 | +3 | 7 | อันดับ 4 |
5 | ![]() |
4 | 1 | 2 | 1 | 4 | 4 | 0 | 5 | ตกรอบใน รอบก่อนรองชนะเลิศ |
6 | ![]() |
4 | 1 | 2 | 1 | 4 | 6 | −2 | 5 | |
7 | ![]() |
4 | 1 | 1 | 2 | 7 | 4 | +3 | 4 | |
8 | ![]() |
4 | 1 | 1 | 2 | 4 | 5 | −1 | 4 | |
9 | ![]() |
3 | 1 | 1 | 1 | 3 | 3 | 0 | 4 | ตกรอบใน รอบแบ่งกลุ่ม |
10 | ![]() |
3 | 0 | 3 | 0 | 4 | 4 | 0 | 3 | |
11 | ![]() |
3 | 0 | 3 | 0 | 3 | 3 | 0 | 3 | |
12 | ![]() |
3 | 1 | 0 | 2 | 3 | 5 | −2 | 3 | |
13 | ![]() |
3 | 0 | 2 | 1 | 1 | 2 | −1 | 2 | |
14 | ![]() |
3 | 0 | 2 | 1 | 3 | 8 | −5 | 2 | |
15 | ![]() |
3 | 0 | 1 | 2 | 3 | 5 | −2 | 1 | |
16 | ![]() |
3 | 0 | 0 | 3 | 0 | 4 | −4 | 0 |
ทีมที่ผ่านเข้ารอบสำหรับโอลิมปิกฤดูร้อน
[แก้]สี่ทีมต่อไปนี้ที่มาจากเอเอฟซีได้สิทธิ์สำหรับ การแข่งขันฟุตบอลชายโอลิมปิกฤดูร้อน 2020, ประกอบไปด้วยญี่ปุ่นซึ่งได้สิทธิ์เข้ารอบในฐานะเจ้าภาพ
ทีม | วันที่เข้ารอบ | จำนวนครั้งที่เข้ารอบที่ผ่านมาใน โอลิมปิกฤดูร้อน1 |
---|---|---|
![]() |
7 กันยายน 2013 | 10 (1936, 1956, 1964, 1968, 1996, 2000, 2004, 2008, 2012, 2016) |
![]() |
22 มกราคม 2020[15] | 2 (1984, 1996) |
![]() |
22 มกราคม 2020[15] | 10 (1948, 1964, 1988, 1992, 1996, 2000, 2004, 2008, 2012, 2016) |
![]() |
25 มกราคม 2020 | 2 (2004, 2008) |
- 1 ตัวหนา หมายถึงแชมเปียนส์สำหรับปีนั้น. ตัวเอียง หมายถึงเจ้าภาพสำหรับปีนั้น
อ้างอิง
[แก้]- ↑ "AFC Competitions Calendar 2020". AFC. 28 February 2018.
- ↑ "OC for FIFA Competitions approves procedures for the Final Draw of the 2018 FIFA World Cup". FIFA.com. 14 September 2017. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2018-06-24. สืบค้นเมื่อ 2019-03-13.
- ↑ "Competition Regulations AFC U-23 Championship 2020". AFC. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2018-11-29. สืบค้นเมื่อ 2019-03-13.
- ↑ "Việt Nam plans to host U23 champs in 2020". Việt Nam News. 6 February 2018. สืบค้นเมื่อ 22 May 2018.
- ↑ Rosdi, Aziman (6 February 2018). "Malaysia to bid for the 2020 AFC Under-23 Championship". New Strait Times. สืบค้นเมื่อ 27 March 2018.
- ↑ "FA Thailand proposed as 2020 AFC U-23 Championship host". AFC. สืบค้นเมื่อ 30 August 2018.
- ↑ "AFC Competitions Calendar 2019". 28 February 2018. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2018-10-09. สืบค้นเมื่อ 2019-03-13.
- ↑ แนะส่งมาตรฐานการสร้างสนามฟุตบอลให้ ‘สมาคมสถาปนิกสยาม’ ศึกแนวทางแก้ไขรองรับทัวร์นาเมนต์ใหญ่ในอนาคต
- ↑ "AFC issues RFP for EMC service for AFC U23 Championship 2020 Final Draw Ceremony". AFC. 29 July 2019. สืบค้นเมื่อ 2 August 2019.
- ↑ "Stars of tomorrow set for Thailand 2020 draw". AFC. 25 September 2019.
- ↑ "Thailand 2020: Draw produces exciting groups". AFC. 26 September 2019.
- ↑ "#AFCU23 Thailand 2020 - Preview Show (Pre Draw)". YouTube. 25 September 2019.
- ↑ 13.0 13.1 13.2 "Korea Republic's Song named Best Goalkeeper, Thailand's Wonggorn wins Top Scorer Award". AFC. 26 January 2020.
- ↑ "Korea Republic's Won named Thailand 2020 MVP". AFC. 26 January 2020.
- ↑ 15.0 15.1 "Korea Republic and Saudi Arabia secure Tokyo 2020 qualification". FIFA.com. 22 January 2020. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2020-01-24. สืบค้นเมื่อ 2020-01-22.
แหล่งข้อมูลอื่น
[แก้]- AFC U-23 Championship, the-AFC.com
- AFC U-23 Championship 2020, stats.the-AFC.com
อ้างอิงผิดพลาด: มีป้ายระบุ <ref>
สำหรับกลุ่มชื่อ "note" แต่ไม่พบป้ายระบุ <references group="note"/>
ที่สอดคล้องกัน