พระภวานี
หน้าตา
ภวานี | |
---|---|
พลังอำนาจ ความยุติธรรม ความเป็นมารดา อารมณ์ | |
ภวานีปางแปดกร ประทับบนสิงห์ | |
ชื่อในอักษรเทวนาครี | भवानी |
ส่วนเกี่ยวข้อง | พระปารวตี, มหาเทวี |
ที่ประทับ | เทวีโลก |
อาวุธ | ธนู ดาบ คฑา จักร สังฆ์ |
พาหนะ | สิงห์/เสือ |
คู่ครอง | พระภวะ (พระศิวะ)[1] |
ภวานี (อักษรโรมัน: Bhavānī) หรือนามอื่น ภาวยะ, ตุลชา, ตุรชา, ตวริตะ, อัมพา เป็นปางอวตารหนึ่งของอาทิปราศักติ[2] พระนาม "ภวานี" แปลว่า "ผู้มอบชีวิต" บ่งบอกถึงอำนาจแห่งธรรมชาติหรือแหล่งแห่งพลังงานสร้างสรรค์
ผู้ที่เคารพบูชาพระนางจะบูชาพระนางในฐานะมารดา พระภวานีมีบทบาทในฐานะผู้กำจัดความชั่วร้ายด้วยการฆ่าอสูร[3][4] ในศิวปุราณะระบุว่าพระนางเป็นเทวีคู่ครองของพระภวะ (สทาศิวะ) และยังเชื่อว่าพระนางมีรูปปางดุร้ายในฐานะพระทุรคา[5]
อ้างอิง
[แก้]- ↑ "Bhava, Bhāva: 62 definitions". wisdomlib.org. สืบค้นเมื่อ 2022-06-08.
- ↑ Singh, Ravinder (2021), Chauhan, Abha (บ.ก.), "Understanding the Concept of Shakti: Mata Vaishno Devi Shrine in Jammu", Understanding Culture and Society in India: A Study of Sufis, Saints and Deities in Jammu Region (ภาษาอังกฤษ), Singapore: Springer, pp. 149–175, doi:10.1007/978-981-16-1598-6_8, ISBN 978-981-16-1598-6, สืบค้นเมื่อ 2023-01-20
- ↑ Patricia Monaghan, PhD (1 April 2014). Encyclopedia of Goddesses and Heroines. New World Library. pp. 91–. ISBN 978-1-60868-218-8.
- ↑ Christopher Pinney (2004). 'Photos of the Gods': The Printed Image and Political Struggle in India. Reaktion Books. pp. 55–. ISBN 978-1-86189-184-6.
- ↑ "Bhavani, Bhavāni, Bhavānī: 20 definitions". wisdomlib.org. สืบค้นเมื่อ 2022-06-08.