ข้ามไปเนื้อหา

ผู้ใช้:Mopza/กระบะทราย/โครงการวิกิวิทยาศาสตร์

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
สถานีย่อยวิทยาศาสตร์ | โครงการวิกิวิทยาศาสตร์ | โครงการวิกิการเงิน การธนาคารฯ
กลับหน้า Home | พูดคุย| หน้าหลักกระบะทราย


โครงการวิกิวิทยาศาสตร์
หน้าโครงการห้องประชุม (และทดลอง)บทความวิทยาศาสตร์สถานีย่อยวิทยาศาสตร์
โครงการวิกิวิทยาศาสตร์
สมาชิก
  1. Mopza (พูดคุย · เรื่องที่เขียน)
  2. Tinuviel (พูดคุย · เรื่องที่เขียน)
  3. Misterwikki (พูดคุย · เรื่องที่เขียน)
  4. Iamion (พูดคุย · เรื่องที่เขียน)
  5. Cherkung (พูดคุย · เรื่องที่เขียน)
  6. B20180 (พูดคุย · เรื่องที่เขียน)
  7. SARANPHONG YIMKLAN (พูดคุย · เรื่องที่เขียน)
  8. NOKSAAK (พูดคุย · เรื่องที่เขียน)
  9. Boom1221 (พูดคุย · เรื่องที่เขียน)
  10. Punchalee.mon (พูดคุย · เรื่องที่เขียน)
  11. Ponpan (พูดคุย · เรื่องที่เขียน)
  12. Thai.60 (พูดคุย · เรื่องที่เขียน)
  13. Phromkham (พูดคุย · เรื่องที่เขียน)
  14. buileducanh (พูดคุย · เรื่องที่เขียน)
  15. AekwatNs (พูดคุย · เรื่องที่เขียน)
  16. Ekminarin (พูดคุย · เรื่องที่เขียน)
  17. Kattie Katey (พูดคุย · เรื่องที่เขียน)
สารบัญ
สถิติบทความ
บทความวิทยาศาสตร์ ความสำคัญ
ไม่มี ทั้งหมด
คุณภาพ
 บทความคัดสรร คัดสรร  14 14
 บทความคุณภาพ คุณภาพ  3 3
ดี 56 56
พอใช้ 268 268
โครง 906 906
รายชื่อ 38 38
จัดระดับแล้ว 1285 1285
ยังไม่ได้จัดระดับ 336 336
ทั้งหมด 1621 1621

โครงการวิกิวิทยาศาสตร์ เป็นส่วนหนึ่งของสถานีย่อย:วิทยาศาสตร์ โดยมีจุดมุ่งหมายเพื่อรวบรวมบทความต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับวิทยาศาสตร์ และพัฒนาบทความวิทยาศาสตร์ต่างๆ ให้เป็นไปในทิศทางเดียวกัน โดยในปัจจุบัน บทความวิทยาศาสตร์ส่วนใหญ่อยู่ในระดับโครงและหลายบทความยังไม่มีแหล่งอ้างอิง ซึ่งพวกเราทุกคนสามารถช่วยกันสร้างสารานุกรมวิทยาศาสตร์ให้สมบูรณ์ยิ่งขึ้นได้


สิ่งที่ต้องทำ

[แก้]

ลงชื่อสมาชิก

[แก้]

การลงชื่อเพื่อเข้าเป็นสมาชิกของโครงการ Mopza/กระบะทราย/โครงการวิกิวิทยาศาสตร์ หมายความว่าคุณยอมรับในข้อตกลงของที่ประชุมและกฎระเบียบต่างๆ ของโครงการวิกิวิทยาศาสตร์ โดยสมาชิกจะต้อง

    1. เข้าร่วมประชุมทุกครั้ง โดยจะมีการกำหนดวันประชุมล่วงหน้า หากไม่สามารถประชุมได้ ให้แจ้งที คุยกับผู้ใช้:Mopza หรือทาง ไออาร์ซี ช่อง #wikipedia-thเชื่อมต่อ
    2. ปฏิบัติตามนโยบายที่กำหนดจากที่ประชุมของโครงการ
    3. พัฒนาบทความวิทยาศาสตร์ให้เป็นไปตามนโยบาย

คู่มือการเขียนบทความวิทยาศาสตร์

[แก้]

คุณทำได้

[แก้]

นี่คือส่วนหนึ่งที่ คุณทำได้ คุณสามารถมีส่วนร่วมในสารานุกรมวิทยาศาสตร์ได้ อย่าลังเล!

การจัดระดับบทความ

[แก้]

บทความระดับคัดสรร

[แก้]
การจัดระดับบทความ รูปแบบการเขียนบทความ
{{บทความวิทยาศาสตร์|ระดับ=คัดสรร}}
เป็นบทความวิทยาศาสตร์ที่มีประสิทธิภาพต่อผู้อ่านสูงสุด ทั้งนี้จะต้องประกอบไปด้วย เนื้อหาที่เป็นสารานุกรม ไม่เอนเอียงไปทางใดทางหนึ่ง

ไม่ละเมิดลิขสิทธิ์ พร้อมอ้างอิงแหล่งที่มาที่สามารถยืนยันได้ พร้อมเนื้อหาที่มีความสมบูรณ์ในตัวมันเอง มีการจัดรูปแบบที่ดีพร้อมภาพประกอบที่มีลิขสิทธิ์ยืนยันได้ มีการใช้สำนวนที่อ่านเข้าใจ และโครงสร้างบทความต่อเนื่องกัน

เช่น ปรากฏการณ์โลกร้อน ณ วันที่ 3 เมษายน 2552

บทความระดับคุณภาพ

[แก้]
การจัดระดับบทความ รูปแบบการเขียนบทความ
{{บทความวิทยาศาสตร์|ระดับ=คุณภาพ}} เป็นบทความวิทยาศาสตร์ที่มีประโยชน์ต่อผู้อ่าน เนื้อหาครบถ้วนสมบูรณ์ คล้ายบทความระดับคัดสรร แต่ยังมีข้อผิดพลาดอยู่บางส่วน แต่ยังเห็นได้ไม่ชัดเจน ซึ่งสิ่งที่ทุกคนทำได้ในบทความระดับนี้คือการแก้ไขเนื้อหาหรือข้อความให้อ่านง่าย

บทความระดับดี

[แก้]
การจัดระดับบทความ รูปแบบการเขียนบทความ
{{บทความวิทยาศาสตร์|ระดับ=ดี}}
เป็นบทความวิทยาศาสตร์ที่มีเนื้อหาครอบคลุมส่วนสำคัญครบถ้วนในทุกด้าน มีรูปแบบที่ดูเหมาะสม ซึ่งรูปแบบและการใช้ภาษา อาจยังต้องการปรับปรุง ยังพอมีประโยชน์ต่อผู้อ่านส่วนใหญ่แต่ไม่ทุกคน ผู้อ่านทั่วไปอ่านและเข้าใจในภาพรวมและเนื้อหาสำคัญ รวมถึงรายละเอียดของหัวข้อนั้น สิ่งที่คุณทำได้ในบทความระดับนี้คือเพิ่มเติมเนื้อหาส่วนย่อย โดยไม่จำเป็นต้องลงทุกรายละเอียด ปรับปรุงการใช้ภาษา และการจัดรูปแบบ
เช่น ปรากฏการณ์เรือนกระจก ณ วันที่ 3 เมษายน 2552

บทความระดับพอใช้

[แก้]
การจัดระดับคัดสรร รูปแบบการเขียนบทความ
{{บทความวิทยาศาสตร์|ระดับ=พอใช้}}
เป็นบทความวิทยาศาสตร์ที่ มีเนื้อหาที่ดีเป็นหลักในบทความ แต่ยังขาดเนื้อหาสำคัญบางประเด็นในบทความ มีรูปแบบที่ดูเหมาะสม เช่น อาจจะขาด บางส่วนของเนื้อหาหลักของบทความ หรือ เนื้อหาย่อยที่สนับสนุนเนื้อหาหลักในบทความ ยังพอมีประโยชน์ต่อผู้อ่านกลุ่มหนึ่ง มีเนื้อหาในระดับที่เหมาะสม แต่ตัวผู้อ่านจำเป็นต้องหาแหล่งข้อมูลอื่น เพื่อทำความเข้าใจในภาพรวมของหัวข้อนั้น สิ่งที่คุณทำได้ในบทความระดับนี้คือการแก้ไขและเพิ่มเติมเนื้อหาหลักที่สำคัญ ปกติแล้วบทความนี้จะไม่มีป้าย {{เก็บกวาด}} หรือ {{โครง}} ปรากฏอยู่
เช่น วิทยาศาสตร์ ณ วันที่ 3 เมษายน 2552

บทความระดับโครง (บทความสั้น)

[แก้]
การจัดระดับบทความ รูปแบบการเขียนบทความ
{{บทความวิทยาศาสตร์|ระดับ=โครง}}
เป็นบทความวิทยาศาสตร์ที่มีเนื้อหาที่อธิบายที่อธิบายความหมายของหัวข้อนั้น โดยส่วนใหญ่จะมีลักษณะที่สั้น แต่ไม่สั้นมาก มีประโยชน์ต่อผู้อ่านที่ไม่รู้จักหรือไม่เคยได้ยินชื่อนั้นมาก่อน ในบทความสามารถอธิบายความหมายในภาพรวมได้ ซึ่งลักษณะนี้มักจะไม่มีประโยชน์ต่อผู้ใช้บางกลุ่มที่รู้จักบทความเป็นอย่างดี สิ่งที่คุณทำได้ในบทความระดับนี้คือ การเพิ่มเติมเนื้อหา สามารถปรับปรุงรูปแบบ และภาษาเช่นกัน โดยบทความในกลุ่มนี้ไม่จำเป็นต้องมีป้าย {{สั้นมาก}}
เช่น กฎของโอห์ม ณ วันที่ 3 เมษายน 2552

บทความระดับรายชื่อ

[แก้]
การจัดระดับบทความ รูปแบบการเขียนบทความ
{{บทความวิทยาศาสตร์|ระดับ=รายชื่อ}}
เป็นบทความวิทยาศาสตร์ที่มีเนื้อหามีลักษณะเป็นรายชื่อ มีประโยชน์ต่อผู้อ่านเพื่อเป็นรวบรวมข้อมูลแบบรายชื่อ หรือเป็นรูปแบบตารางธาตุ และใช้เป็นดัชนีไปบทความอื่น โดยต่างจากหมวดหมู่ที่อาจมีภาพ แหล่งอ้างอิง และคำอธิบายกำกับ แต่จะไม่ได้รับการจัดระดับเหมือนบทความทั่วไป และทุกคนสามารถจัดบทความที่ดูเหมือนมีลักษณะเป็นรายชื่อได้
เช่น รายชื่อของธาตุตามหมายเลข ณ วันที่ 3 เมษายน 2552

บทความคัดสรร/คุณภาพ

[แก้]

บทความคัดสรร

[แก้]

บทความคุณภาพ

[แก้]

"วิทยาศาสตร์" ในโครงการอื่น

[แก้]
วิกิพจนานุกรม
หาความหมาย
วิกิคำคม
คำคม
วิกิตำรา
หนังสือ
วิกิซอร์ซ
ค้นแหล่งเอกสาร
วิกิข่าว
เนื้อหาข่าว
คอมมอนส์
ภาพและสื่อ