ทิเบต (ค.ศ. 1912–1951)
ทิเบต | |||||||||||
---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|
1912–1951 | |||||||||||
ดินแดนราชอาณาจักรทิเบตในปี ค.ศ. 1942 | |||||||||||
สถานะ | รัฐที่ไม่ได้รับการรับรอง (นิตินัย) มณฑลของสาธารณรัฐจีน | ||||||||||
เมืองหลวง | ลาซา | ||||||||||
ภาษาทั่วไป | ภาษาทิเบต, กลุ่มภาษาทิเบต | ||||||||||
ศาสนา | พุทธแบบทิเบต | ||||||||||
การปกครอง | ศาสนาพุทธโดยเทวาธิปไตย[1]แบบสมบูรณาญาสิทธิราชย์[2] | ||||||||||
ทะไลลามะ | |||||||||||
• 1912–1933 | ทับเทน เกียตโซ (องค์แรก) | ||||||||||
• 1937–1951 | เทนซิน เกียตโซ (องค์สุดท้าย) | ||||||||||
ยุคประวัติศาสตร์ | สงครามโลกครั้งที่ 1, สมัยระหว่างสงคราม, สงครามโลกครั้งที่ 2, สงครามเย็น | ||||||||||
• ข้อตกลงสามฝ่าย | กรกฎาคม 1912 | ||||||||||
• ทับเทน เกียตโซ กลับคืนสู่ราชบัลลังก์ | 1913 | ||||||||||
1950 | |||||||||||
23 พฤษภาคม 1951 | |||||||||||
สกุลเงิน | Tibetan skar, Tibetan srang, Tibetan tangka | ||||||||||
| |||||||||||
ปัจจุบันเป็นส่วนหนึ่งของ | สาธารณรัฐประชาชนจีน |
ทิเบต | |||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||
"ทิเบต" ในภาษาจีน (ข้างบน) และภาษาทิเบต (ด้านล่าง) | |||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||
ชื่อภาษาจีน | |||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||
---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|
ภาษาจีน | 西藏 | ||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||
ฮั่นยฺหวี่พินอิน | Xīzàng | ||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||
ไปรษณีย์ | Hsi-tsang | ||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||
ความหมายตามตัวอักษร | "Western Tsang" | ||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||
| |||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||
ชื่อภาษาทิเบต | |||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||
อักษรทิเบต | བོད་ | ||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||
| |||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||
ชื่อภาษาแมนจู | |||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||
อักษรแมนจู | ᠸᠠᡵᡤᡳ ᡩᡯᠠᠩ | ||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||
อักษรโรมัน | wargi Dzang |
ทิเบต เป็นรัฐเอกราชโดยพฤตินัยระหว่าง ค.ศ. 1912 ถึง ค.ศ. 1951 ผู้ปกครองคือทะไลลามะการปกครองคือศาสนาพุทธโดยเทวาธิปไตยแบบสมบูรณาญาสิทธิราชย์ และมีสถานะเป็นมณฑลหนึ่งของสาธารณรัฐจีน
ทิเบตเป็นส่วนหนึ่งของราชวงศ์ชิงมาอย่างต่อเนื่อง[3][4] จนกระทั่งเกิดการปฏิวัติซินไฮ่ภายหลังจาการล่มสลายของราชวงศ์ชิง ในปี ค.ศ. 1912 เมื่อรัฐบาลเฉพาะกาลแห่งสาธารณรัฐจีนแทนที่ราชวงศ์ชิงในฐานะรัฐบาลของจีนและได้ลงนามในสนธิสัญญากับราชวงศ์ชิงที่จะสืบทอดดินแดนทั้งหมดของราชวงศ์มาเป็นสาธารณรัฐใหม่ทำให้ทิเบตมีสถานะเป็น"รัฐในอารักขา"[5] ต่อมาในสมัยรัฐบาลชาตินิยมแห่งสาธารณรัฐจีนได้ยกระดับให้ทิเบตเป็นมณฑลหนึ่งของสาธารณรัฐจีน
จนถึง ค.ศ. 1950 กองทัพปลดปล่อยประชาชนได้เข้ายึดครองดินแดนธิเบต และผนวกเขตดินแดนโดยมีสถานะเป็นเขตปกครองตนเองทิเบตของสาธารณรัฐประชาชนจีน
ทิเบตในช่วงศตวรรษที่ 20 ยังไม่มีการเลิกทาสเพราะยังมียุติตามมติชนชั้นอยู่จนกระทั่งถึง ค.ศ. 1951 มีข้อตกลงสันติภาพ 17 ข้อ
ประวัติศาสตร์
[แก้]การประกาศเอกราช
[แก้]ส่วนนี้รอเพิ่มเติมข้อมูล คุณสามารถช่วยเพิ่มข้อมูลส่วนนี้ได้ |
ข้อตกลงซิมลา (ค.ศ. 1914)
[แก้]ส่วนนี้รอเพิ่มเติมข้อมูล คุณสามารถช่วยเพิ่มข้อมูลส่วนนี้ได้ |
การสิ้นพระชนม์ของทับเทน เกียตโซ
[แก้]ส่วนนี้รอเพิ่มเติมข้อมูล คุณสามารถช่วยเพิ่มข้อมูลส่วนนี้ได้ |
ทะไลลามะ องค์ที่สิบสี่
[แก้]ส่วนนี้รอเพิ่มเติมข้อมูล คุณสามารถช่วยเพิ่มข้อมูลส่วนนี้ได้ |
การผนวกดินแดนเข้ากับจีน
[แก้]สังคม
[แก้]นโยบายต่างประเทศ
[แก้]ดูเพิ่ม
[แก้]อ้างอิง
[แก้]อ้างอิง
[แก้]- ↑ James Minahan, Encyclopedia of the Stateless Nations: S-Z, Greenwood, 2002, page 1892
- ↑ Nakamura, Haije (1964). "Absolute Adherence to the Lamaist Social Order". Ways of Thinking of Eastern Peoples: India, China, Tibet, Japan. University of Hawaii Press. p. 327.
- ↑ Perkins, Dorothy (2013-11-19). Encyclopedia of China: History and Culture (ภาษาอังกฤษ). Routledge. ISBN 978-1-135-93562-7.
- ↑ Fravel, M. Taylor (2008-08-25). Strong Borders, Secure Nation: Cooperation and Conflict in China's Territorial Disputes (ภาษาอังกฤษ). Princeton University Press. ISBN 978-1-4008-2887-6.
- ↑ Huang, Hua-Lun (2014-01-10). The Missing Girls and Women of China, Hong Kong and Taiwan: A Sociological Study of Infanticide, Forced Prostitution, Political Imprisonment, "Ghost Brides," Runaways and Thrownaways, 1900-2000s (ภาษาอังกฤษ). McFarland. ISBN 978-0-7864-8834-6.
ประวัติ
[แก้]- Bell, Charles Alfred. Tibet: Past & present (1924) Oxford University Press ; Humphrey Milford.
- Chapman, F. Spencer. Lhasa the Holy City (1977) Books for Libraries. ISBN 0-8369-6712-7; first published 1940 by Readers Union Ltd., London
- Goldstein, Melvyn C. A History of Modern Tibet, 1913-1951: The Demise of the Lamaist State (1989) University of California Press. ISBN 978-0-520-06140-8
- Goldstein, Melvyn C. The Snow Lion and the Dragon: China, Tibet, and the Dalai Lama (1997) University of California Press. ISBN 0-520-21951-1
- Goldstein, Melvyn C. A History of Modern Tibet, Volume 2: The Calm Before the Storm: 1951-1955 (2007) University of California Press. ISBN 978-0-520-24941-7
- Grunfeld, A. Tom. The Making of Modern Tibet (1996) East Gate Book. ISBN 978-1-56324-713-2
- Lamb, Alastair. The McMahon Line: A Study in the Relations between India, China and Tibet, 1904 to 1914 (1966) Routledge & Kegan Paul. 2 volumes.
- Shakya, Tsering. The Dragon In The Land Of Snows (1999) Columbia University Press. ISBN 0-231-11814-7