ฉบับร่าง:การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไปครั้งถัดไป
นี่คือบทความฉบับร่างซึ่งเปิดโอกาสให้ทุกคนสามารถแก้ไขได้ โปรดตรวจสอบว่าเนื้อหามีลักษณะเป็นสารานุกรมและมีความโดดเด่นควรแก่การรู้จักก่อนที่จะเผยแพร่เป็นบทความลงในวิกิพีเดีย กรุณาอดทนรอผู้เขียนคนอื่นมาช่วยตรวจให้ อย่าย้ายหน้าไปเป็นบทความเองโดยพลการ ค้นหาข้อมูล: Google (books · news · newspapers · scholar · free images · WP refs) · FENS · JSTOR · NYT · TWL สำคัญ: ถ้าลบป้ายนี้ออกจะทำให้บันทึกหน้าไม่ได้ ผู้แก้ไขหน้านี้คนล่าสุด คือ Iamike (พูดคุย | เรื่องที่เขียน) เมื่อ 0 วินาทีก่อน (ล้างแคช) |
| |||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||
ทั้งหมด 500 ที่นั่งในสภาผู้แทนราษฎรไทย ต้องการ 251 ที่นั่งจึงเป็นฝ่ายข้างมาก | |||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||
---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|
| |||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||
|
การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไปครั้งถัดไป เป็นการเลือกตั้งทั่วไปในประเทศไทยครั้งที่ 28 จัดขึ้นไม่เกินวันที่ 27 มิถุนายน พ.ศ. 2570
เบื้องหลัง
[แก้]ภายหลังจาก การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2566 พรรคก้าวไกลได้คะแนนเสียงเป็นอันดับหนึ่ง มีสิทธิ์อันชอบธรรมในการจัดตั้งรัฐบาล ทว่าด้วยกลไกที่บิดเบี้ยว ทำให้ไม่สามารถจัดตั้งรัฐบาลได้สำเร็จ และไม่สามารถส่ง พิธา ลิ้มเจริญรัตน์ ให้ดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรี จนเมื่อพรรคเพื่อไทยซึ่งชนะเป็นลำดับสองรองลงมา เป็นฝ่ายจัดตั้งรัฐบาลแทน กลับใช้วิธีการ สลายขั้ว ร่วมกันกับพรรคการเมืองบางพรรคที่เคยประกาศไว้แล้วว่า จะไม่มีทางจับมือ และเสนอ เศรษฐา ทวีสิน ให้ดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรีในที่สุด
การย้ายสังกัดพรรคการเมือง
[แก้]พรรคก้าวไกล (2)
[แก้]ย้ายไปพรรคชาติพัฒนา
- วุฒิพงษ์ ทองเหลา สส.ปราจีนบุรี เขต 2
ย้ายไปพรรคไทยก้าวหน้า
- ไชยามพวาน มั่นเพียรจิตต์ สส.กรุงเทพมหานคร เขต 26
พรรคชาติพัฒนา (1)
[แก้]ย้ายไปพรรครวมไทยสร้างชาติ
- อรรถวิชช์ สุวรรณภักดี อดีตผู้สมัคร สส.บัญชีรายชื่อ
พรรคไทยสร้างไทย (2)
[แก้]ย้ายไปพรรคประชาชน
- สรวิศ เดชเสน อดีตผู้สมัคร สส.ยโสธร เขต 2
- วรายุทธ จงอักษร อดีตผู้สมัคร สส.ยโสธร เขต 3
พรรคประชาธิปัตย์ (7)
[แก้]ย้ายไปพรรคกล้าธรรม
- อนุกูล พฤกษานุศักดิ์ อดีตผู้สมัคร สส.สงขลา เขต 6 (เดิมสังกัดพรรคพลังประชารัฐในปี พ.ศ. 2565)
ย้ายไปพรรคประชาชน
- ดนุภัทร์ เชียงชุม อดีตผู้สมัคร สส.แม่ฮ่องสอน
- ธนวัช ภูเก้าล้วน อดีตผู้สมัคร สส.กระบี่
ย้ายไปพรรคเพื่อไทย
- พายุ เนื่องจำนงค์ อดีตผู้สมัคร สส.บัญชีรายชื่อ
- สากล ม่วงศิริ อดีต สส.กรุงเทพมหานคร
- สุวัฒน์ ม่วงศิริ อดีต สส.กรุงเทพมหานคร
- วณิชชา ม่วงศิริ อดีตผู้สมัคร สส.กรุงเทพมหานคร
พรรคพลังประชารัฐ (1)
[แก้]ย้ายไปพรรคกล้าธรรม
- อาดิลัน อาลีอิสเฮาะ อดีต สส.ยะลา เขต 1
พรรคเพื่อไทย (2)
[แก้]ย้ายไปพรรคประชาชน
- ทัศนีย์ บูรณุปกรณ์ อดีต สส.เชียงใหม่ เขต 1
ย้ายไปพรรคพลังประชารัฐ
- วัน อยู่บำรุง อดีต สส.กรุงเทพมหานคร
พรรคภูมิใจไทย (2)
[แก้]ย้ายไปพรรคก้าวไกล
- สีหเดช ไกรคุปต์ อดีตผู้สมัคร สส.ราชบุรี เขต 3
ย้ายไปพรรคเพื่อไทย
- วัฒนา ช่างเหลา อดีต สส.ขอนแก่น เขต 2
พรรครวมไทยสร้างชาติ (1)
[แก้]ย้ายไปพรรคกล้าธรรม
- อนงค์นาถ จ่าแก้ว อดีตผู้สมัคร สส.สุราษฎร์ธานี เขต 6
ผลสำรวจ
[แก้]พรรคที่ต้องการ
[แก้]ระยะเวลาการสำรวจ | องค์กรที่สำรวจ | กลุ่มตัวอย่าง | ปชน. | พท. | รทสช. | ภจท. | ปชป. | พปชร. | ยังไม่ตัดสินใจ | อื่น ๆ | คะแนนนำ |
---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|
19–24 ธันวาคม 2567 | นิด้าโพล | 2,000 | 37.30% | 27.70% | 10.60% | 5.15% | 3.40% | 3.05% | 8.20% | 4.60% | 9.60% |
16–23 กันยายน 2567 | นิด้าโพล | 2,000 | 34.25% | 27.15% | 9.95% | 3.55% | 4.40% | 2.05% | 15.10% | 1.10% | 7.10% |
ระยะเวลาการสำรวจ | องค์กรที่สำรวจ | กลุ่มตัวอย่าง | ก.ก. | พท. | รทสช. | ภจท. | ปชป. | พปชร. | ยังไม่ตัดสินใจ | อื่น ๆ | คะแนนนำ |
14–18 มิถุนายน 2567 | นิด้าโพล | 2,000 | 49.20% | 16.85% | 7.55% | 2.20% | 3.75% | 1.75% | 15.00% | 3.70% | 32.35% |
7–18 พฤษภาคม 2567 | สถาบันพระปกเกล้า | 1,620 | 44.90% | 20.20% | 10.90% | 3.50% | 3.00% | 3.00% | – | 12.60% | 24.70% |
11–13 มีนาคม 2567 | นิด้าโพล | 2,000 | 48.45% | 22.10% | 5.10% | 1.70% | 3.50% | 2.30% | 12.75% | 4.10% | 26.35% |
9–20 ธันวาคม 2566 | ม.ศรีปทุม–ดีโหวต | 1,168 | 61.50% | 25.50% | 1.08% | 1.03% | 1.04% | 1.95% | – | 7.90% | 26.00% |
13–18 ธันวาคม 2566 | นิด้าโพล | 2,000 | 44.05% | 24.05% | 3.20% | 1.75% | 3.60% | 1.45% | 16.10% | 6.00% | 20.00% |
22–24 สิงหาคม 2566 | ม.ศรีปทุม–ดีโหวต | 1,253 | 62.00% | 12.87% | 9.27% | 4.39% | 1.86% | 2.00% | – | 7.61% | 49.13% |
14 พฤษภาคม 2566 | การเลือกตั้ง 2566 | – | 37.99% | 28.84% | 12.54% | 2.99% | 2.43% | 1.41% | – | 13.80% | 9.15% |
นายกรัฐมนตรีที่ต้องการ
[แก้]ระยะเวลาการสำรวจ | องค์กรที่สำรวจ | กลุ่มตัวอย่าง | พีระพันธุ์ | สุดารัตน์ | แพทองธาร | ณัฐพงษ์ | เฉลิมชัย | อนุทิน | ประวิตร | ยังไม่ตัดสินใจ | อื่น ๆ | คะแนนนำ |
---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|
รทสช. | ทสท. | พท. | ปชน. | ปชป. | ภท. | พปชร. | ||||||
19–24 ธันวาคม 2567 | นิด้าโพล | 2,000 | 10.25% | 4.95% | 28.80% | 29.85% | 1.05% | 6.45% | 1.70% | 14.40% | 2.55% | 1.05% |
16–23 กันยายน 2567 | นิด้าโพล | 2,000 | 8.65 | 4.80 | 31.35 | 22.90 | –– | 4.00 | 1.15 | 23.50 | 5.85 | 8.45 |
ระยะเวลาการสำรวจ | องค์กรที่สำรวจ | กลุ่มตัวอย่าง | พีระพันธุ์ | สุดารัตน์ | แพทองธาร | เศรษฐา | พิธา | เฉลิมชัย | อนุทิน | ยังไม่ตัดสินใจ | อื่น ๆ | คะแนนนำ |
รทสช. | ทสท. | พท. | ก.ก. | ปชป. | ภท. | |||||||
11–13 มีนาคม 2567 | นิด้าโพล | 2,000 | 3.55 | 2.90 | 6.00 | 17.75 | 42.45 | –– | 1.45 | 20.05 | 5.85 | 22.40 |
13–18 ธันวาคม 2566 | นิด้าโพล | 2,000 | 2.40 | 1.65 | 5.75 | 22.35 | 39.40 | –– | 1.70 | 22.85 | 3.90 | 17.05 |
หมายเหตุ
[แก้]- ↑ จำนวนที่นั่งเดิมของพรรค เปรียบเทียบจากจำนวนที่นั่งที่พรรคก้าวไกลเคยได้รับ