ข้ามไปเนื้อหา

กรีฑาชิงแชมป์โลก

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
กรีฑาชิงแชมป์โลก
สถานะดำเนินการอยู่
ประเภทชิงแชมป์โลก
กรีฑา
ความถี่ทุกสองปี
ประเดิมค.ศ. 1983
เหตุการณ์ก่อนหน้า2022
จัดโดยกรีฑาโลก
เว็บไซต์worldathletics.org
2023

กรีฑาชิงแชมป์โลก (อังกฤษ: World Athletics Championships; หรือชื่อเดิม อังกฤษ: World Championships in Athletics จนถึงปี 2019) เป็นการแข่งขันกรีฑาที่จัดขึ้นทุกสองปี ซึ่งจัดขึ้นโดยกรีฑาโลก (เดิมชื่อ ไอเอเอเอฟ; สหพันธ์สมาคมกรีฑานานาชาติ)

การแข่งขันชิงแชมป์โลกเริ่มต้นขึ้นในปี ค.ศ. 1976 เมื่อคณะกรรมการโอลิมปิกสากลตัดสินใจยกเลิกการแข่งขันรายการเดิน 50 กิโลเมตร ชายออกจากโปรแกรมโอลิมปิกในการแข่งขันที่มอนทรีออล 1976 แม้ว่ารายการดังกล่าวจะได้เข้าร่วมในโอลิมปิกอย่างต่อเนื่องตั้งแต่ปี ค.ศ. 1932 ก็ตาม ดังนั้นไอเอเอเอฟจึงได้จัดการแข่งขันชิงแชมป์โลกของตนเองแทน ซึ่งใช้เวลาหนึ่งเดือนครึ่งหลังการแข่งขันกีฬาโอลิมปิก[1][2] นับเป็นการแข่งขันชิงแชมป์โลกครั้งแรกที่ไอเอเอเอฟ จัดขึ้นแยกจากการแข่งขันกีฬาโอลิมปิก (ตามธรรมเนียมแล้วการแข่งขันกีฬาโอลิมปิกถือเป็นการแข่งขันกรีฑาชิงแชมป์โลก) การแข่งขันชิงแชมป์โลกครั้งที่สองจัดขึ้นในปี ค.ศ. 1980 โดยสองครั้งนี้ถือว่าเป็นการแข่งขันกรีฑาชิงแชมป์โลกอย่างไม่เป็นทางการ

การแข่งขันชิงแชมป์โลกในปี ค.ศ. 1983 ถือเป็นการแข่งขันกรีฑาอย่างเป็นทางการ ในช่วงแรกของการแข่งขันได้จัดขึ้นทุกสี่ปี จนกระทั่งในปี ค.ศ. 1991 การแข่งขันได้เปลี่ยนมาจัดขึ้นทุกสองปี

สรุปการแข่งขัน

[แก้]
ครั้งที่ ปี เมืองเจ้าภาพ ประเทศ วันที่ สถานที่ รายการ ชาติเข้าร่วม นักกีฬา เจ้าเหรียญทอง
1 1983 เฮลซิงกิ  ฟินแลนด์ 7–14 สิงหาคม สนามกีฬาโอลิมปิก 41 153 1,333  เยอรมนีตะวันออก
2 1987 โรม  อิตาลี 28 สิงหาคม – 6 กันยายน สตาดีโอโอลิมปีโก 43 156 1,419  เยอรมนีตะวันออก
3 1991 โตเกียว  ญี่ปุ่น 23 สิงหาคม – 1 กันยายน สนามกีฬาโอลิมปิกแห่งชาติ 43 162 1,491  สหรัฐอเมริกา
4 1993 ชตุทท์การ์ท  เยอรมนี 13–22 สิงหาคม ก็อตต์ลีฟเดมเลอสตาดีโยน 44 187 1,630  สหรัฐอเมริกา
5 1995 กอเทนเบิร์ก  สวีเดน 5–13 สิงหาคม อุลเลวี 44 190 1,755  สหรัฐอเมริกา
6 1997 เอเธนส์  กรีซ 1–10 สิงหาคม สนามกีฬาโอลิมปิก 44 197 1,785  สหรัฐอเมริกา
7 1999 เซบิยา  สเปน 20–29 สิงหาคม สนามกีฬากาตูจา 46 200 1,750  สหรัฐอเมริกา
8 2001 เอดมันตัน  แคนาดา 3–12 สิงหาคม สนามกีฬาเครือจักรภพ 46 189 1,677  รัสเซีย
9 2003 แซ็ง-เดอนี  ฝรั่งเศส 23–31 สิงหาคม สตาดเดอฟร็องส์ 46 198 1,679  สหรัฐอเมริกา
10 2005 เฮลซิงกิ  ฟินแลนด์ 6–14 สิงหาคม สนามกีฬาโอลิมปิก 47 191 1,688  สหรัฐอเมริกา
11 2007 โอซากะ  ญี่ปุ่น 24 สิงหาคม – 2 กันยายน สนามกีฬานางาอิ 47 197 1,800  สหรัฐอเมริกา
12 2009 เบอร์ลิน  เยอรมนี 15–23 สิงหาคม โอลึมเพียชตาดิโยน 47 200 1,895  สหรัฐอเมริกา
13 2011 แทกู  เกาหลีใต้ 27 สิงหาคม – 4 กันยายน แทกูสเตเดียม 47 199 1,742  สหรัฐอเมริกา
14 2013 มอสโก  รัสเซีย 10–18 สิงหาคม สนามกีฬาลุจนีกี 47 203 1,784  สหรัฐอเมริกา
15 2015 ปักกิ่ง  จีน 22–30 สิงหาคม สนามกีฬาแห่งชาติปักกิ่ง 47 205 1,771  เคนยา
16 2017 ลอนดอน  สหราชอาณาจักร 5–13 สิงหาคม สนามกีฬาโอลิมปิก 48 199 2,036  สหรัฐอเมริกา
17 2019 โดฮา  กาตาร์ 28 กันยายน – 6 ตุลาคม สนามกีฬานานาชาติเคาะลีฟะฮ์ 49 206 1,775  สหรัฐอเมริกา
18 2022 ยูจีน  สหรัฐอเมริกา 15–24 กรกฎาคม เฮย์เวิร์ดฟิลด์ 49 180 1,705  สหรัฐอเมริกา
19 2023 บูดาเปสต์  ฮังการี 19–27 สิงหาคม ศูนย์กีฬากรีฑาแห่งชาติ 49 202 2,187  สหรัฐอเมริกา
20 2025 โตเกียว  ญี่ปุ่น 13–21 กันยายน กรีฑาสถานแห่งชาติญี่ปุ่น

สรุปตารางเหรียญตอลดกาล

[แก้]
ลำดับที่ประเทศทองเงินทองแดงรวม
1 สหรัฐอเมริกา194134113441
2 เคนยา645746167
3 รัสเซีย425248142
4 จาเมกา406048148
5 เยอรมนี393648123
6 เอธิโอเปีย353831104
7สหราชอาณาจักร บริเตนใหญ่และไอร์แลนด์เหนือ333946118
8 สหภาพโซเวียต23272878
9 จีน22262775
10 คิวบา22251663
11 เยอรมนีตะวันออก21191656
12 โปแลนด์20202565
13 ออสเตรเลีย15151343
14 เช็กเกีย155727
15 ฝรั่งเศส14182355
16 อิตาลี13182051
17 โมร็อกโก1212933
18 สวีเดน127827
 แอฟริกาใต้127827
20 แคนาดา11181746
21 สเปน11181645
22 ยูเครน11151642
23 นอร์เวย์116623
24 เบลารุส10111233
25 บาฮามาส99826
26 ญี่ปุ่น891835
27 ฟินแลนด์78823
28 โปรตุเกส77923
29 บาห์เรน73313
30 ยูกันดา72413
31 เนเธอร์แลนด์691227
32 กรีซ671225
33 แอลจีเรีย62311
34 นิวซีแลนด์6118
35 โรมาเนีย581225
36 บัลแกเรีย53816
37 กาตาร์52411
38 เชโกสโลวาเกีย44311
39 โครเอเชีย44210
40 โคลอมเบีย4329
41 สาธารณรัฐโดมินิกัน4217
42 ไอร์แลนด์4206
43 สวิตเซอร์แลนด์4059
44 เวเนซุเอลา4015
นักกีฬาเป็นกลางที่ได้รับอนุญาต[1]38112
45 เยอรมนีตะวันตก36312
46 ตรินิแดดและโตเบโก35715
47 เม็กซิโก34714
48 ลิทัวเนีย3339
49 เอกวาดอร์3216
50 กรีเนดา3126
51 โมซัมบิก3115
52 เดนมาร์ก3014
53 บราซิล26816
54 เอสโตเนีย26210
55 เบลเยียม22711
56 สโลวีเนีย2237
57 ทาจิกิสถาน2103
 เปรู2103
59 ไนจีเรีย15511
60 นามิเบีย1416
61 คาซัคสถาน1359
62 ตุรกี1304
63 บอตสวานา1214
64 แซมเบีย1203
65 ตูนิเซีย1113
 บูร์กินาฟาโซ1113
67 ปานามา1102
 เอริเทรีย1102
69 เซนต์คิตส์และเนวิส1045
70 สโลวาเกีย1034
 เซอร์เบีย1034
72 ซีเรีย1023
 บาร์เบโดส1023
74 เซเนกัล1012
 โซมาเลีย1012
76 เกาหลีเหนือ1001
77 ฮังการี07815
78 โกตดิวัวร์0415
79 อิสราเอล0325
80 ปวยร์โตรีโก0314
81 จิบูตี0213
 บุรุนดี0213
83 แคเมอรูน0202
84 ออสเตรีย0134
85 กานา0112
 ซูรินาม0112
 บอสเนียและเฮอร์เซโกวีนา0112
 ฟิลิปปินส์0112
 ลัตเวีย0112
 ศรีลังกา0112
 อินเดีย0112
 เกาหลีใต้0112
 แทนซาเนีย0112
 ไซปรัส0112
95 ซูดาน0101
 หมู่เกาะบริติชเวอร์จิน0101
 อียิปต์0101
 เบอร์มิวดา0101
99 ซาอุดีอาระเบีย0011
 ซิมบับเว0011
 ดอมินีกา0011
 หมู่เกาะเคย์แมน0011
 อิหร่าน0011
 อเมริกันซามัว0011
 เฮติ0011
รวม (105 ประเทศ)8718778732621

อ้างอิง

[แก้]
  1. Matthews, Peter (2012). Historical Dictionary of Track and Field (pg. 217). Scarecrow Press (eBook). Retrieved on 2013-09-08.
  2. IAAF Statistics Book Moscow 2013 (pg. 179). IAAF/AFTS (2013). Edited by Mark Butler. Retrieved on 2013-09-09.

แหล่งข้อมูลอื่น

[แก้]