ข้ามไปเนื้อหา

สงครามต่อต้านการก่อการร้าย

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
(เปลี่ยนทางจาก War on Terror)
สงครามต่อต้านการก่อการร้าย

ตามเข็มนาฬิกาจากซ้ายบน: หลังจากวินาศกรรม 11 กันยายน ทหารราบชาวอเมริกันในอัฟกานิสถาน; ทหารอเมริกันและล่ามชาวอัฟกานิสถานในจังหวัดซาโบล ประเทศอัฟกานิสถาน การระเบิดของระเบิดรถยนต์อิรักในกรุงแบกแดด
วันที่7 ตุลาคม พ.ศ. 2544[16] - ปัจจุบัน
สถานที่
ทั่วโลก (โดยเฉพาะอย่างยิ่งในตะวันออกกลาง บางส่วนของทวีปเอเชียและแอฟริกา ยุโรปและอเมริกาเหนือ)
ผล

สงครามในอัฟกานิสถาน (2544-2564)

ความไม่สงบในเยเมน (2541–2558):

สงครามอิรัก (2546–2554):

สงครามทางตะวันตกเฉียงเหนือของปากีสถาน (2547–ปัจจุบัน):

การทัพระหว่างประเทศต่อไอซิส (2557–ปัจจุบัน):

  • การก่อการกำเริบกำลังดำเนินอยู่
  • ความพยายามมนุษยธรรมระหว่างประเทศ
  • การติดอาวุธและสนับสนุนกำลังภาคพื้นดินท้องถิ่น

อื่น ๆ:

คู่สงคราม

ประเทศกลุ่มเนโท
 เนโท

ประเทศนอกกลุ่มเนโท:


ภารกิจนานาชาติ:

เป้าหมายหลัก:

ผู้บังคับบัญชาและผู้นำ

จอร์จ ดับเบิลยู. บุช (U.S President 2001–2009)
บารัค โอบามา (U.S President 2009–2017)
ดอนัลด์ ทรัมป์ (U.S President 2017–2021)
โจ ไบเดิน (U.S President 2021–Present)
โทนี แบลร์ (Prime Minister of the U.K 1997–2007)
กอร์ดอน บราวน์ (Prime Minister of the U.K 2007–2010)
เดวิด แคเมอรอน (Prime Minister of the U.K 2010–2016) เทรีซา เมย์ (Prime Minister of the U.K 2016–2019)
บอริส จอห์นสัน (Prime Minister of the U.K 2019–2022)
ลิซ ทรัสส์ (Prime Minister of the U.K 2022–25 ตุลาคม 2022)
ริชี ซูแน็ก (Prime Minister of the U.K 25 ตุลาคม 2022—Present
ฌัก ชีรัก (President 1995–2007)
นีกอลา ซาร์กอซี (President 2007–2012)
ฟร็องซัว ออล็องด์ (President 2012 – 2017)
แอมานุแอล มาครง (President 2017 – Present)
เปอร์เวซ มูชาร์ราฟ[note 1]
(President 1999–2008)

General Raheel Sharif (Chief of Army Staff 2013 – present)
จอห์น โฮเวิร์ด (Prime Minister 1996–2007)
เจียง เจ๋อหมิน (President 1993–2003)
หู จิ่นเทา (President 2003–2013)
สี จิ้นผิง (President 2013–Present)
Aleksander Kwaśniewski (President 1995–2005)
เรเจป ไตยิป แอร์โดอัน (Prime Minister 2003–2014)

เลบานอน General Jean Kahwaji (Commander-in-Chief of the Lebanese Armed Forces)

อัลกออิดะฮ์

อุซามะห์ บิน ลาดิน 
อัยมัน อัซเซาะวาฮิรี
นาสเซอร์ อัล-วูฮาย์ชี
อันวาร์ อัลอะลากี 
Abu Musab Abdel Wadoud
อาซิม อูมาร์
Ahmed Abdi Godane 
อะห์มัด อูมาร์
Abu Mohammad al-Julani
Muhsin al-Fadhli
Abu Musab al-Zarqawi 
Abu Ayyub al-Masri 

รัฐอิสลามอิรักและเลแวนต์

อะบู บักร์ อัลบัฆดาดี
Abu Mohammad al-Adnani (Spokesperson)
Abu Ayman al-Iraqi[17]
Abu Abdulrahman al-Bilawi 
Abu Muslim al-Turkmani 
Abu Ali al-Anbari
Mohammed Abdullah
Salah Benali [18]
Abu Nabil Al Iraqi (ISIL commander of North Africa)
Ali Al Qarqaa (ISIL Emir of Nofaliya)
Hafiz Saeed Khan (Emir of Pakistan and Afghanistan)
Mullah Abdul Rauf (Deputy Emir in Afghanistan) [19][20]
Gouri Abdelmalek [21]
Shadi el-Manaei[22]
Abu Omar al-Shishani (Field commander in Syria)[23][24]
Haji Bakr 
Abubakar Shekau[7]

ตอลิบาน

มุฮัมมัด อุมัร
Abdul Ghani Baradar (เชลย)
Obaidullah Akhund 
Mohammad Fazl
Dadullah Akhund 

เตห์ริก-ไอ-ตอลิบาน

มัวลานา ฟาสลูลลาห์
Hakimullah Mehsud 
Baitullah Mehsud 

เครือข่ายฮักกอนี

จาลาลุดดีน ฮักกอนี

Sirajuddin Haqqani
ความสูญเสีย
1,350,000 - 2,000,000+ โดยรวมถูกฆ่าตาย[25][26]

สงครามต่อต้านการก่อการร้าย (อังกฤษ: War on Terror) เป็นคำที่ใช้ทั่วไปกับการทัพทางทหารระหว่างประเทศซึ่งเริ่มต้นอันเป็นผลมาจากวินาศกรรม 11 กันยายน พ.ศ. 2544 ต่อสหรัฐ การทัพครั้งนี้มีเป้าหมายเพื่อกำจัดอัลกออิดะห์และองค์การก่อการร้ายอื่นๆ สหราชอาณาจักร ประเทศสมาชิกเนโทอื่นๆ และประเทศนอกกลุ่มเนโทเข้าร่วมในความขัดแย้งนี้ด้วยเช่นกัน

คำว่า "สงครามต่อต้านการก่อการร้าย" นี้ ประธานาธิบดีจอร์จ ดับเบิลยู. บุช แห่งสหรัฐใช้เป็นคนแรกเมื่อวันที่ 20 กันยายน 2544 รัฐบาลบุชและสื่อตะวันตกได้ใช้คำดังกล่าวหมายถึงการต่อสู้ทางทหาร การเมือง ชอบด้วยกฎหมายและเชิงความคิดทั่วโลก โดยมุ่งเป้าทั้งองค์การที่ถูกระบุว่าเป็นผู้ก่อการร้ายและรัฐบาลที่ถูกกล่าวหาว่าสนับสนุนการก่อการร้าย

เหตุการณ์ก่อนวินาศกรรม 11 กันยายน

[แก้]

จุดกำเนิดของอัลกออิดะห์ในฐานะเครือข่ายที่ปลุกปั่นการก่อการร้ายทั่วโลกและฝึกผู้ปฏิบัติการสามารถสืบย้อนไปได้ถึงสงครามในอัฟกานิสถานของโซเวียต (ธันวาคม 2522 – กุมภาพันธ์ 2532) สหรัฐสนับสนุนกองโจรมุญาฮิดีนอิสลามต่อกองทัพสหภาพโซเวียตและสาธารณรัฐประชาธิปไตยอัฟกานิสถาน[27] ในเดือนพฤษภาคม 2539 กลุ่มแนวร่วมอิสลามโลกเพื่อญิฮาดต่อต้านยิวและครูเสด (WIFJAJC) ที่ได้รับการสนับสนุนโดยอุซามะฮ์ บิน ลาดิน และภายหลังปฏิรูปเป็นอัลกออิดะห์ เริ่มต้นตั้งฐานปฏิบัติการขนาดใหญ่ในอัฟกานิสถาน ซึ่งรัฐบาลฏอลิบานที่เป็นอิสลามสุดโต่งเถลิงอำนาจในปีเดียวกันนั้น[28] ในเดือนกุมภาพันธ์ 2542 อุซามะฮ์ บิน ลาดินลงนามในฟัตวาห์ในฐานะผู้นำอัลกออิดะห์ ประกาศสงครามต่อชาติตะวันตกและอิสราเอล[29][30] ต่อมา ในเดือนพฤษภาคมปีเดียวกัน อัลกออิดะห์เผยแพร่วิดีทัศน์ประกาศสงครามต่อสหรัฐและชาติตะวันตก[31][32]

หลังเหตุระเบิดสถานทูตสหรัฐในเคนยาและแทนซาเนีย[33] ประธานาธิบดีบิล คลินตันแห่งสหรัฐเปิดฉากปฏิบัติการอินฟินิทรีช (Operation Infinite Reach) การทัพทิ้งระเบิดในซูดานและอัฟกานิสถานต่อเป้าหมายที่สหรัฐยืนยันว่าเกี่ยวข้องกับ WIFJAJC[34][35] แต่ประเทศอื่นตั้งคำถามว่า โรงงานผลิตยาในซูดานถูกใช้เป็นโรงงานการสงครามเคมีหรือไม่ โรงงานดังกล่าวผลิตยาต้านมาลาเรียในภูมิภาคเป็นจำนวนมาก[36] และราว 50% ของความต้องการยาในซูดาน[37] การโจมตีดังกล่าวไม่สามารถสังหารผู้นำ WIFJAJC หรือฏอลิบานได้แม้แต่คนเดียว[36]

ต่อมาเป็นแผนลับโจมตีสหัสวรรษ พ.ศ. 2543 ซึ่งรวมความพยายามวางระเบิดท่าอากาศยานนานาชาติลอสแอนเจลิส ในเดือนตุลาคม 2543 เกิดเหตุวางระเบิดยูเอสเอส โคล ตามด้วยวินาศกรรม 11 กันยายน พ.ศ. 2544[38]


  การเริ่มกำลังทหารที่สำคัญ (อัฟกานิสถานปากีสถานอิรักโซมาเลียเยเมน)
  พันธมิตรอื่นซึ่งเกี่ยวข้องในปฏิบัติการหลัก
พื้นที่สำคัญที่ถูกโจมตีโดยอัลกออิดะฮ์และกลุ่มที่เข้าร่วม: 1. เหตุระเบิดสถานทูตสหรัฐ พ.ศ. 2541 • 2. วินาศกรรม 11 กันยายน พ.ศ. 2544 • 3. เหตุระเบิดในบาหลี พ.ศ. 2545 • 4. เหตุระเบิดระบบรถไฟกรุงมาดริด พ.ศ. 2547 • 5. เหตุระเบิดในลอนดอน 7 กรกฎาคม 2548 • 6. เหตุโจมตีในมุมไบ พ.ศ. 2551

ข้อความ

[แก้]
  1. Former army chief.

อ้างอิง

[แก้]
  1. Mike Levine; James Gordon Meek; Pierre Thomas; Lee Ferran (23 September 2014). "What Is the Khorasan Group, Targeted By US in Syria?". ABC News. สืบค้นเมื่อ 18 October 2014.
  2. "Pakistan Taliban splinter group vows allegiance to Islamic State". Reuters. 18 November 2014. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2018-12-24. สืบค้นเมื่อ 19 November 2014.
  3. "ISIS Now Has Military Allies in 11 Countries – NYMag". Daily Intelligencer. สืบค้นเมื่อ 25 November 2014.
  4. Nigeria's president vows to defeat Boko Haram – Africa – Al Jazeera English
  5. US Offers to Help Find Over 200 Nigerian Schoolgirls Abducted by Boko Haram
  6. Osley, Richard (7 March 2015). "Boko Haram pledges allegiance to Isis in video message". The Independent. สืบค้นเมื่อ 8 March 2015.
  7. 7.0 7.1 "Nigeria's Boko Haram pledges allegiance to Islamic State". BBC News. BBC. 7 March 2015. สืบค้นเมื่อ 7 March 2015.
  8. Schanzer, Jonathan (2011-05-02). "The Hamas-al Qaeda Alliance". The Weekly Standard. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2015-11-21. สืบค้นเมื่อ 2014-09-27.
  9. Bush, George W. (2010). Decision Points. Crown Publishers. pp. 399–400. Palestinian extremists, many affiliated with the terrorist group Hamas, launched a wave of terrorist attacks against innocent civilians in Israel...My views [on Israel and Hamas] came into sharper focus after 9/11.
  10. Halevi, Jonathan D. (2014-08-04). "The Hamas Threat to the West Is No Different from ISIS". Jerusalem Center for Public Affairs. สืบค้นเมื่อ 2014-09-29.
  11. Thiessen, Marc A. (2011-12-08). "Iran responsible for 1998 U.S. embassy bombings". The Washington Post. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2013-12-03. สืบค้นเมื่อ 2014-09-26.
  12. "U.S. District Court Rules Iran Behind 9/11 Attacks". PRNewswire. 2011-12-23. สืบค้นเมื่อ 2014-09-27.
  13. Bush, George W. (2010). Decision Points. Crown Publishers. pp. 413–414. Israel's war against Hezbollah in Lebanon was another defining moment in the ideological struggle.
  14. Levitt, Matthew (2013). Hezbollah: The Global Footprint of Lebanon's Party of God. Georgetown University Press. p. 297. Hezbollah created Unit 3800, a unit dedicated to supporting Iraq Shi'a terrorist groups targeting multinational forces in Iraq.
  15. "» Kidnapping, Abu Sayyaf, and the war on terror – Blogger News Network". คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2016-06-24. สืบค้นเมื่อ 14 September 2014.
  16. "Presidential Address to the Nation, October 7, 2001". whitehouse.gov. สืบค้นเมื่อ 2008-04-14.
  17. "Military Skill and Terrorist Technique Fuel Success of ISIS". New York Times. 27 August 2014. สืบค้นเมื่อ 21 October 2014.
  18. "Derna Islamist leader killed in Benghazi". Libya Herald. 17 September 2014. สืบค้นเมื่อ 17 September 2014.
  19. "Afghanistan drone strike 'kills IS commander Abdul Rauf'". 9 February 2015. สืบค้นเมื่อ February 2015. {{cite web}}: ตรวจสอบค่าวันที่ใน: |accessdate= (help)
  20. "Taliban Captures ISIS Afghanistan Chief Mullah Abdul Rauf, 45 Others". International Business Times. 30 January 2015. สืบค้นเมื่อ 6 February 2015.
  21. Deaton, Jennifer Z.; Hanna, Jason (23 December 2014). "Algeria: Leader of group that beheaded French hiker is killed". CNN. สืบค้นเมื่อ 1 January 2015.
  22. "North Sinai tribal leader kills 4 Islamist militants". Mada Masr. 2 August 2014. สืบค้นเมื่อ 28 November 2014.
  23. "Kadyrov Claims Red-Bearded Chechen Militant al-Shishani Dead". ElBalad. 14 November 2014. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2015-01-28. สืบค้นเมื่อ 2015-03-13.
  24. "Kadyrov Says Islamic State's Leader From Georgia Killed". Radio Free Europe/Radio Liberty. 14 November 2014.
  25. http://owni.eu/2011/05/05/the-war-on-terror-in-numbers/ เก็บถาวร 2014-10-06 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน War On Terror In Numbers
  26. http://www.justforeignpolicy.org/iraq/iraqdeaths_fr.html[ลิงก์เสีย] Iraqi Casualties may be as high as 1,000,000
  27. Cooley, John K. (Spring 2003). "Unholy Wars: Afghanistan, America and International Terrorism" (reprint). Demokratizatsiya. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2008-02-19. สืบค้นเมื่อ 2013-02-18.
  28. กลุ่มนี้ยังรับผิดชอบต่อเหตุระเบิดเวิลด์เทรดเซนเตอร์ พ.ศ. 2536 Megan K. Stack (6 December 2001). "Fighters Hunt Former Ally". Los Angeles Times. สืบค้นเมื่อ 2 May 2010.
  29. "Al Qaeda's Fatwa". PBS Newshour. 23 February 1998. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2006-09-01. สืบค้นเมื่อ 10 September 2011.
  30. J. T. Caruso (8 December 2001). "Al-Qaeda International". Federal Bureau of Investigation. United States Department of Justice. สืบค้นเมื่อ 10 September 2011.
  31. Nic Robertson (19 August 2002). "Previously unseen tape shows bin Laden's declaration of war". CNN. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2011-03-10. สืบค้นเมื่อ 10 September 2011.
  32. Lisa Myers (17 March 2004). "Osama bin Laden: missed opportunities". NBC. สืบค้นเมื่อ 10 September 2011.
  33. "Report of the Accountability Review Boards". US Department of State. 7 August 1998.
  34. "U.S. strikes terrorist targets in Afghanistan, Sudan". CNN. 20 August 1998.
  35. "U.S. retaliates for Africa bombings". CNN. 20 August 1998.
  36. 36.0 36.1 Malcolm Clark (20 March 2000). "Bad air and rank hypocrisy". newstatesman.com. สืบค้นเมื่อ 2 May 2010.
  37. Stevel Lee Myers and Tim Weiner (27 August 1998). "Possible Benign Use Is Seen for Chemical at Factory in Sudan". partners.nytimes.com. สืบค้นเมื่อ 2 May 2010.
  38. "What proof of bin Laden's involvement". CNN. 13 September 2001. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2009-01-24. สืบค้นเมื่อ 2013-02-18.

แหล่งค้นคว้าเพิ่มเติม

[แก้]

แหล่งข้อมูลอื่น

[แก้]

แหล่งข่าวอย่างเป็นทางการของรัฐบาลหรือองค์การนานาชาติ
ข่าวทั่วไป
เอกสารทางกฎหมายชั้นต้น
บทความที่เจาะจง
อื่น ๆ
วิดีโอ
เหตุการณ์ปัจจุบัน