สวิสอินเตอร์แนชนัลแอร์ไลน์
| |||||||
ก่อตั้ง | 31 มีนาคม 2002[1] | ||||||
---|---|---|---|---|---|---|---|
ท่าหลัก | ท่าอากาศยานซูริค | ||||||
เมืองสำคัญ | ท่าอากาศยานนานาชาติเจนีวา | ||||||
สะสมไมล์ | ไมล์สแอรด์มอร์ | ||||||
พันธมิตรการบิน | สตาร์อัลไลแอนซ์ | ||||||
บริษัทลูก | เอเดลไวส์แอร์ | ||||||
ขนาดฝูงบิน | 88 | ||||||
จุดหมาย | 102 | ||||||
บริษัทแม่ | เครือลุฟท์ฮันซ่า | ||||||
สำนักงานใหญ่ | บาเซิล, สวิตเซอร์แลนด์ | ||||||
บุคลากรหลัก | Dieter Vranckx (ซีอีโอ) | ||||||
เว็บไซต์ | www |
สวิสอินเตอร์แนชนัลแอร์ไลน์ (อังกฤษ: Swiss International Air Lines) หรือรู้จักกันในชื่อ สวิส เป็นสายการบินประจำชาติและสายการบินที่ใหญ่ที่สุดของประเทศสวิตเซอร์แลนด์ โดยมีฐานบินหลักอยู่ที่ท่าอากาศยานซูริคและมีสำนักงานใหญ่อยู่ที่บาเซิล สวิสเป็นบริษัทลูกของลุฟต์ฮันซ่าที่ให้บริการเที่ยวบินกว่า 120 เส้นทางในทวีปอเมริกาเหนือ อเมริกาใต้ แอฟริกา และเอเชีย
กิจการองค์กร
[แก้]สำนักงานใหญ่
[แก้]สวิสอินเตอร์แนชนัลแอร์ไลน์มีสำนักงานใหญ่อยู่ที่ท่าอากาศยานยูโร บาเซิล - มัลเฮาส์ - ไฟรเบิร์ก[2][3] ใกล้เมืองบาเซิล ประเทศสวิตเซอร์แลนด์ สำนักงานใหญ่ของสวิสตั้งอยู่ในพื้นที่ฝั่งสวิตเซอร์แลนด์ของสนามบิน และสามารถเข้าถึงได้จากสวิตเซอร์แลนด์เท่านั้น[4]
สวิสยังมีสำนักงานอยู่ที่ท่าอากาศยานซูริคและท่าอากาศยานนานาชาติเจนีวาอีกด้วย
บริษัทลูก
[แก้]สวิสอินเตอร์แนชนัลแอร์ไลน์กรุ๊ปมีบริษัทลูกดังนี้:
- เอเดลไวส์แอร์
- สวิสเอวิเอชันซอฟต์แวร์
- สวิสเอวิเอชันเทรนนิ่ง
- สวิสเวิลด์คาร์โก้
- สวิสทัวร์
จุดหมายปลายทาง
[แก้]ข้อตกลงการบินร่วม
[แก้]สวิสอินเตอร์แนชนัลแอร์ไลน์ได้มีข้อตกลงการบินร่วมกับสายการบินดังต่อไปนี้:
- แอร์แคนาดา
- แอร์ไชนา
- แอร์ฟรานซ์
- แอร์อินเดีย[5]
- แอร์มอลตา
- ออล นิปปอน แอร์เวย์
- เอเชียน่าแอร์ไลน์
- ออสเตรียนแอร์ไลน์
- อาเบียงกา
- บรัสเซลส์แอร์ไลน์
- คาเธ่ย์แปซิฟิค
- โครเอเชียแอร์ไลน์
- เอเดลไวส์แอร์ (สายการบินลูก)
- อียิปต์แอร์
- เอ็ลอัล
- ยูโรวิงส์
- ลอตโปลิชแอร์ไลน์
- ลุฟท์ฮันซ่า
- สแกนดิเนเวียนแอร์ไลน์ซิสเต็ม
- สิงคโปร์แอร์ไลน์
- เซาท์แอฟริกันแอร์เวย์
- ตัปปูร์ตูกัล
- การบินไทย
- ยูไนเต็ดแอร์ไลน์
- วิสตารา[6]
ข้อตกลงระหว่างสายการบิน
[แก้]สวิสอินเตอร์แนชนัลแอร์ไลน์ได้ทำข้อตกลงระหว่างสายการบินดังต่อไปนี้:
- แอโรลีเนียสอาร์เจนตินา
- อาเอโรเมฆิโก
- แอร์อัสทรัล
- แอร์โดโลมิติ
- แอร์มอริเชียส
- อเมริกันแอร์ไลน์
- บางกอกแอร์เวย์ส
- บริติชแอร์เวย์
- ไชนาแอร์ไลน์
- ไชนาอีสเทิร์นแอร์ไลน์
- ไชนาเซาเทิร์นแอร์ไลน์
- ค็อนดอร์
- เดลตาแอร์ไลน์
- เอมิเรตส์
- ฟินน์แอร์
- โกว์ลีญัสอาแอเรียส
- กัลฟ์แอร์
- เฮลเวติกแอร์ไลน์
- ไอบีเรีย
- ไอซ์แลนด์แอร์
- เจแปนแอร์ไลน์
- เจ็ตสตาร์แอร์เวย์
- เคนยาแอร์เวย์
- เคแอลเอ็ม
- โคเรียนแอร์
- ลาตัม ชิลี
- ลักซ์แอร์
- มาเลเซียแอร์ไลน์
- แมนดารินแอร์ไลน์
- มิดเดิลอีสต์แอร์ไลน์
- โอมานแอร์
- ปากีสถานอินเตอร์แนชนัลแอร์ไลน์
- พรีซิชันแอร์
- ควอนตัส
- กาตาร์แอร์เวย์
- รอซิยาห์แอร์ไลน์
- เซาเดีย
- ช่างไห่แอร์ไลน์
- ซันเอกซ์เพรส
- ศรีลังกาแอร์ไลน์
- เตอร์กิชแอร์ไลน์
- เวียดนามแอร์ไลน์
- เวอร์จินแอตแลนติก
ฝูงบิน
[แก้]ณ เดือนมีนาคม ค.ศ. 2024 สวิสอินเตอร์แนชนัลแอร์ไลน์มีเครื่องบินประจำการในฝูงบินดังนี้:[7][8][9][10][11][12]
เครื่องบิน | ประจำการ | คำสั่งซื้อ | ผู้โดยสาร | หมายเหตุ | |||||
---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|
F | B | P | E | รวม | อ้างอิง | ||||
แอร์บัส เอ220-100 | 9 | — | — | — | — | 125 | 125 | [13] | ลูกค้าเปิดตัว[14] |
แอร์บัส เอ220-300 | 21 | — | — | — | — | 145 | 145 | [15] | |
แอร์บัส เอ320-200 | 11 | — | — | — | — | 180 | 180 | [16] | แปดลำรับมาจากสวิสแอร์[17] หนึ่งลำสวมลวดลายสตาร์อัลไลแอนซ์[17] |
แอร์บัส เอ320นีโอ | 6 | 11[18][19] | เดิมสั่งซื้อสิบลำพร้อมเจ็ดตัวเลือก[20] | ||||||
แอร์บัส เอ321-100 | 3 | — | — | — | — | 219 | 219 | [21] | ทั้งหมดรับมาจากสวิสแอร์[17] |
แอร์บัส เอ321-200 | 3 | — | |||||||
แอร์บัส เอ321นีโอ | 4 | 4[18][19] | 219 | เดิมสั่งซื้อห้าลำพร้อมสามตัวเลือก[20] คำสั่งซื้อบางส่วนอาจถูกเปลี่ยนเป็นแอร์บัส เอ321แอลอาร์[22] | |||||
แอร์บัส เอ330-300 | 14 | — | 8 | 45 | — | 183 | 236 | [23] | |
— | 4 | 43 | 21 | 159 | 227 | [24] | การจัดเรียงตั้งแต่ปี 2025 เป็นต้นไป[25] | ||
แอร์บัส เอ340-300 | 4 | — | 8 | 42 | 21 | 144 | 215 | [26] | จะถูกปลดประจำการและทดแทนด้วยแอร์บัส เอ350-900 ในช่วงกลางปี 2025[27][28] |
แอร์บัส เอ350-900 | — | 5 | 3 | 45 | 38 | 156 | 242 | [29] | ส่งมอบช่วงกลางปี 2025 ตามคำสั่งซื้อของลุฟท์ฮันซ่า จะทดแทนแอร์บัส เอ340-300[30][28] |
โบอิง 777-300อีอาร์ | 12 | — | 8 | 62 | 24 | 226 | 320 | [31] | |
รวม | 87 | 20 |
สวิสอินเตอร์แนชนัลแอร์ไลน์มีอายุฝูงบินเฉลี่ย 11.2 ปี
อุบัติเหตุและอุบัติการณ์
[แก้]- 10 กรกฎาคม ค.ศ. 2002 : สวิสอินเตอร์แนชนัลแอร์ไลน์ เที่ยวบินที่ 850 ซึ่งเป็นเครื่องบินของ ซาบ 2000 ได้ตกที่ลานบินเวอร์นูเชิน เนื่องจากข้อมูลสภาพอากาศที่และสัญลักษณ์รันเวย์ที่ไม่เหมาะสม ส่งผลให้ล้อลงจอดเสียหายและไฟลามไปทั่วเครื่องบิน ไม่มีผู้เสียชีวิต เครื่องบินถูกปลดในเวลาต่อมา[32]
อ้างอิง
[แก้]- ↑ "Swiss, Facts & Figures". คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 14 August 2009. สืบค้นเมื่อ 20 December 2010.
- ↑ http://www.swiss.com/web/EN/about_swiss/media/press_releases/2004/Pages/pr_20040323_2.aspx
- ↑ "Plan interactif :: Ville de Saint-Louis - Alsace". web.archive.org. 2009-11-14. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2009-11-14. สืบค้นเมื่อ 2022-10-31.
{{cite web}}
: CS1 maint: bot: original URL status unknown (ลิงก์) - ↑ "Wayback Machine" (PDF). web.archive.org. 2011-07-25. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2011-07-25. สืบค้นเมื่อ 2022-10-31.
{{cite web}}
: CS1 maint: bot: original URL status unknown (ลิงก์) - ↑ "Code Share Partners - Air India". เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 17 January 2020. สืบค้นเมื่อ 18 January 2020.
- ↑ "SWISS / VISTARA BEGINS CODESHARE PARTNERSHIP FROM SEP 2022". Aeroroutes. 12 September 2022.
- ↑ Swiss International Air Lines Fleet เก็บถาวร 2012-03-22 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน Swiss Aircraft Registry
- ↑ "Airbus short-haul fleet". Swiss International Air Lines.
- ↑ "Airbus long-haul fleet". Swiss International Air Lines.
- ↑ "Boeing". Swiss International Air Lines.
- ↑ "Swiss Fleet Details and History". www.planespotters.net.
- ↑ "Airfleets aviation". www.airfleets.net.
- ↑ "Airbus A220-100". Swiss International Air Lines. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 22 March 2020. สืบค้นเมื่อ 3 February 2020.
- ↑ aerotelegraph.com 5 May 2021
- ↑ "Airbus A220-300". Swiss International Air Lines. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 22 March 2020. สืบค้นเมื่อ 3 February 2020.
- ↑ "Airbus A320-200". Swiss International Air Lines. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 22 March 2020. สืบค้นเมื่อ 3 February 2020.
- ↑ 17.0 17.1 17.2 อ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ
<ref>
ไม่ถูกต้อง ไม่มีการกำหนดข้อความสำหรับอ้างอิงชื่อSwiss Fleet Details
- ↑ 18.0 18.1 "Neue Swiss-Strategie". เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 8 January 2015. สืบค้นเมื่อ 11 January 2015.
- ↑ 19.0 19.1 "Feste Order von Airbus A320 Neo und A321 Neo: Lufthansa legt sich weitere 27 Neos zu | aeroTELEGRAPH". aeroTELEGRAPH (ภาษาเยอรมัน). 28 September 2018. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 28 September 2018. สืบค้นเมื่อ 28 September 2018.
- ↑ 20.0 20.1 "SWISS to further invest in latest-generation aircraft". Swiss International Air Lines (Press release). 28 September 2018. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 28 September 2018. สืบค้นเมื่อ 28 September 2018.
- ↑ "Airbus A321--100/200". Swiss International Air Lines. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 22 March 2020. สืบค้นเมื่อ 3 February 2020.
- ↑ "Swiss considering A321neo(LR)". เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 8 April 2019. สืบค้นเมื่อ 8 October 2017.
- ↑ "Airbus A330-300". Swiss International Air Lines. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 22 March 2020. สืบค้นเมื่อ 3 February 2020.
- ↑ "Swiss Senses". Swiss International Air Lines. สืบค้นเมื่อ 4 March 2023.
- ↑ Swiss, Senses. "SWISS Senses".
- ↑ "Airbus A340-300". Swiss International Air Lines. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 22 March 2020. สืบค้นเมื่อ 3 February 2020.
- ↑ "Swiss to retire all Airbus A340s in 2024-2025 - Executive Traveller". 14 October 2021. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 25 October 2021. สืบค้นเมื่อ 25 October 2021.
- ↑ 28.0 28.1 aerotelegraph.com (German) 12 December 2022
- ↑ "SWISS to offer more Premium Economy seats on its new Airbus A350-900s". aviacionline.com. 11 September 2023. สืบค้นเมื่อ 11 September 2023.
- ↑ "Swiss buys new long-haul aircraft". Switzerland Times. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 13 December 2022. สืบค้นเมื่อ 12 December 2022.
- ↑ "Boeing 777-300ER". Swiss International Air Lines. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 15 April 2020. สืบค้นเมื่อ 3 February 2020.
- ↑ Ranter, Harro. "ASN Aircraft accident Saab 2000 HB-IZY Werneuchen". aviation-safety.net.