ข้ามไปเนื้อหา

รัฐมัธยประเทศ

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
(เปลี่ยนทางจาก Madhya Pradesh)
รัฐมัธยประเทศ
บนลงล่างและซ้ายไปขวา กลุ่มโบราณสถานแห่งขชุราโห, สถูปสาญจี, เมืองโบราณมันฑู, กวาง Chital ที่ Kanha National Park, มาร์เบิลร็อคส์, ภิมเพตกา และ กุนทลปุระไชนมนเทียร
โลโกอย่างเป็นทางการของรัฐมัธยประเทศ
ตรา
ที่มาของชื่อ: มัธย ('กลาง') และ ประเทศ ('แว่นแคว้น')
เพลง: "เมรา มัธยประเทศ"
("มัธยประเทศของข้าฯ ") [1]
ที่ตั้งในประเทศอินเดีย
ที่ตั้งในประเทศอินเดีย
ประเทศ อินเดีย
การตั้งถิ่นฐาน1 พฤศจิกายน 1956
เมืองหลวงโภปาล
เมืองใหญ่สุดอินเทาร์
อำเภอ52
การปกครอง
 • องค์กรGovernment of Madhya Pradesh
 • GovernorLalji Tandon [2]
 • Chief MinisterShivraj Singh Chouhan (BJP)[3]
 • นิติบัญญัติระบบสภาเดี่ยว (230 seats)
 • ศาลสูงศาลสูงมัธยประเทศ
พื้นที่
 • รัฐ308,252 ตร.กม. (119,017 ตร.ไมล์)
อันดับพื้นที่ที่ 2
ประชากร
 (2011)[4]
 • รัฐ72,626,809 คน
 • อันดับที่ 5
 • ความหนาแน่น240 คน/ตร.กม. (610 คน/ตร.ไมล์)
 • เขตเมือง20,059,666 คน
 • นอกเมือง52,537,899 คน
GDP (2018–19)[5]
 • รวม8.09 แลกห์โคร (3.4 ล้านล้านบาท)
 • ต่อหัว90,998 (39,000 บาท)
เขตเวลาUTC+05:30 (IST)
PIN45xxxx-46xxxx-47xxxx-48xxxx
ISD code91-07xxx
รหัส ISO 3166IN-MP
ทะเบียนพาหนะMP
เอชดีไอ (2018)เพิ่มขึ้น 0.606[6]
medium · 33rd
การรู้หนังสือ (2011)70.6%[4]
อัตราส่วนเพศ (2011)931 /1000 [7]
ภาษาทางการภาษาฮินดี[8]
เว็บไซต์mp.gov.in
สัญลักษณ์
ภาษา ภาษาฮินดี
เพลงเมรา มัธยประเทศ
การแสดงMaanch
สัตว์ Barasingha
สัตว์ปีก Indian Paradise Flycatcher
สัตว์น้ำ มหาศีร์[9]
ดอกไม้ ทองกวาว[10]
ผลไม้ มะม่วง
ต้นไม้ ต้นบันยัน

มัธยประเทศ (ฮินดี: मध्य प्रदेश; แปลว่า แว่นแคว้นตอนกลาง) เป็นรัฐในประเทศอินเดียตอนกลาง มีเมืองหลวงคือโภปาล และเมืองใหญ่สุดคืออินเทาร์ ส่วนเมืองสำคัญอื่น ๆ ได้แก่ ชพัลปุระ, กวาลิออร์, อุชเชน, สาคร รัฐมธยประเทศใหญ่เป็นอันดับสอง และมีประชากรมากเป็นอันดับห้า ด้วยประชากรมากกว่า 75 ล้านคน [11]

อ้างอิง

[แก้]
  1. "MP: State Song to be Sung Along with National Anthem". Outlook. 12 October 2010. สืบค้นเมื่อ 21 March 2020.
  2. PTI (20 July 2019). "Anandiben Patel made UP governor, Lal ji Tandon to replace her in Madhya Pradesh". India Today (ภาษาอังกฤษ). สืบค้นเมื่อ 20 July 2019.
  3. Noronha, Rahul (23 March 2020). "BJP's Shivraj Singh Chouhan sworn in as Madhya Pradesh CM for fourth time". India Today (ภาษาอังกฤษ). สืบค้นเมื่อ 23 March 2020.
  4. 4.0 4.1 "2011 Census of India" (PDF). Censusindia.gov.in. เก็บ (PDF)จากแหล่งเดิมเมื่อ 17 October 2011. สืบค้นเมื่อ 14 September 2012.
  5. "MOSPI Gross State Domestic Product". Ministry of Statistics and Programme Implementation, Government of India. 1 March 2019. สืบค้นเมื่อ 9 June 2019.
  6. "Sub-national HDI – Area Database". Global Data Lab (ภาษาอังกฤษ). Institute for Management Research, Radboud University. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 23 September 2018. สืบค้นเมื่อ 25 September 2018.
  7. List of Indian states by sex ratio
  8. "Report of the Commissioner for linguistic minorities: 47th report (July 2008 to June 2010)" (PDF). Commissioner for Linguistic Minorities, Ministry of Minority Affairs, Government of India. pp. 122–126. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม (PDF)เมื่อ 13 May 2012. สืบค้นเมื่อ 16 February 2012.
  9. "MP declares endangered 'Mahasheer' breed as state fish". Deccan Herald. 7 October 2011. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 6 August 2016. สืบค้นเมื่อ 22 April 2016.
  10. "State Animals, Birds, Trees and Flowers of India". www.frienvis.nic.in. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2016-03-08. สืบค้นเมื่อ 28 February 2020.
  11. http://fsi.nic.in/cover_2011/madhyapradesh.pdf