รัฐเบงกอลตะวันตก
รัฐเบงกอลตะวันตก | |
---|---|
บนลงล่าง: ทิวทัศน์เมืองโกลกาตาจากย่านหาวรา, ทักษิเณศวรกาลีมนเทียร, ประตูเมืองกัลกัตตาในย่านนิวทาวน์, ส่วนชาในภูมิภาคดูอาร์ส, วังฮะซาร์ทาวรีในเมือง มุรศิดาบาด, หาดทิฆา, เสือโคร่งเบงกอลในอุทยานแห่งชาติสุนทรบานส์, ดาร์จีลิงมองจากแฮปปีวัลเลย์ทีเอสเตต | |
ที่ตั้งในประเทศอินเดีย | |
ประเทศ | อินเดีย |
ก่อตั้ง | 26 มกราคม 1950 |
เมืองหลวง | โกลกาตา |
เมืองใหญ่สุด | โกลกาตา |
อำเภอ | |
การปกครอง | |
• องค์กร | รัฐบาลรัฐ |
• ผู้ว่ารัฐ | (?)[1] |
• มุขยปาล | Mamata Banerjee (AITC) |
• นิติบัญญัติ | สภานิติบัญญัติรัฐ (295) |
• ศาลสูง | ศาลสูงกัลกัตตา |
พื้นที่ | |
• ทั้งหมด | 88,752 ตร.กม. (34,267 ตร.ไมล์) |
อันดับพื้นที่ | ที่ 13 |
ประชากร (2011)[2] | |
• ทั้งหมด | 91,347,736 คน |
• อันดับ | ที่ 4 |
• ความหนาแน่น | 1,029 คน/ตร.กม. (2,670 คน/ตร.ไมล์) |
เดมะนิม | ชาวเบงกอล |
GSDP (2018–19)[3][4] | |
• รวม | ₹11.78 แลกห์โคร (5.0 ล้านล้านบาท) |
• ต่อหัว | ₹109,491 (47,000 บาท) |
ภาษา | |
• ทางการ | |
• ทางการเพิ่มเติม | ภาษาเนปาลในสองตำบลของอำเภอดาร์จีลิง[6] in blocks, subdivisions or districts exceeding 10% of the population |
เขตเวลา | UTC+05:30 (IST) |
รหัส ISO 3166 | IN-WB |
ทะเบียนพาหนะ | WB |
เอชดีไอ (2017) | 0.641 (medium) · ที่ 28[10] |
การรู้หนังสือ (2011) | 77.08%[11] |
อัตราส่วนเพศ (2011) | 950 ♀/1000 ♂[12] |
^* 294 จากการเลือกตั้ง, 1 จากการแต่งตั้ง | |
สัญลักษณ์ของรัฐเบงกอลตะวันตก | |
ตรา | ตราประจำรัฐ |
ภาษา | ภาษาเบงกอล |
สัตว์ | เสือปลา |
สัตว์ปีก | นกกระเต็นอกขาว |
ดอกไม้ | กรรณิการ์ |
ต้นไม้ | พญาสัตบรรณ |
เบงกอลตะวันตก (อังกฤษ: West Bengal; เบงกอล: পশ্চিমবঙ্গ) เป็นรัฐทางตะวันออกของประเทศอินเดีย มีพื้นที่ไปตามแนวอ่าวเบงกอล มีประชากรมากกว่า 91 ล้านคน คิดเป็นรัฐที่มีประชากรมากที่สุดเป็นอันดับที่ 4 และมีพื้นที่มากที่สุดเป็นอันดับที่ 13 ของประเทศอินเดีย ด้วยพื้นที่ 88,752 km2 (34,267 sq mi) มีอาณาเขตติดต่อรัฐสิกขิม รัฐอัสสัม และประเทศภูฏานทางทิศเหนือ ติดต่อกับประเทศเนปาลทางทิศตะวันออกเฉียงเหนือ ติดต่อกับรัฐโอริศาทางทิศตะวันตกเฉียงใต้ ติดต่อกับประเทศบังกลาเทศทางทิศตะวันตก และอ่าวเบงกอล มหาสมุทรอินเดียทางใต้ เมืองหลวงของรัฐคือโกลกาตา เมืองที่มีประชากรมากที่สุดเป็นอันดับที่ 7 และเป็นเขตนครที่มีประชากรมากที่สุดอันดับที่ 3 ในประเทศอินเดีย
รัฐนี้มีความสำคัญมากโดยเฉพาะช่วงการเรียกร้องเอกราชของอินเดียซึ่งเป็นศูนย์กลางทั้งทางปัญญาและทางศิลปะในยุคนั้น[13] ในปี 1947 คณะกรรมการนิติบัญญัติเบงกอลและสภานิติบัญญัติเบงกอลได้ลงคะแนนการขีดเส้นแบ่งเบงกอลตามเส้นทางศาสนาออกเป็นสองส่วนที่ตัดขาดกัน คือ รัฐเบงกอลตะวันตก ซึ่งเป็นของประเทศฮินดูสถาน (อินเดียในปัจจุบัน) กับเบงกอลตะวันออก เป็นจังหวัดหนึ่งของประเทศปากีสถาน ซึ่งในภายหลังได้ประกาศเอกราชเป็นประเทศบังกลาเทศ
อ้างอิง
[แก้]- ↑ PTI (20 July 2019). "Centre appoints four new Governors, Jagdeep Dhankar now in-charge of West Bengal". The Hindu (ภาษาIndian English). เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 20 July 2019. สืบค้นเมื่อ 20 July 2019.
- ↑ "Area, population, decennial growth rate and density for 2001 and 2011 at a glance for West Bengal and the districts: provisional population totals paper 1 of 2011: West Bengal". Registrar General & Census Commissioner, India. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 7 มกราคม 2012. สืบค้นเมื่อ 26 มกราคม 2012.
- ↑ "MOSPI Gross State Domestic Product". Ministry of Statistics and Programme Implementation, Government of India. 28 February 2020. สืบค้นเมื่อ 26 April 2020.
- ↑ "Medium Term Fiscal Policy & Fiscal Policy Strategy Statement 2019-2020" (PDF). Government of West Bengal. p. 6. สืบค้นเมื่อ 3 May 2019.
- ↑ "Fact and Figures". www.wb.gov.in. สืบค้นเมื่อ 30 March 2018.
- ↑ "Report of the Commissioner for linguistic minorities: 52nd report (July 2014 to June 2015)" (PDF). Commissioner for Linguistic Minorities, Ministry of Minority Affairs, Government of India. pp. 85–86. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม (PDF)เมื่อ 15 พฤศจิกายน 2016. สืบค้นเมื่อ 16 กุมภาพันธ์ 2016.
- ↑ Singh, Shiv Sahay (3 April 2012). "Official language status for Urdu in some West Bengal areas". The Hindu (ภาษาIndian English). เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 3 June 2019. สืบค้นเมื่อ 3 June 2019.
- ↑ Roy, Anirban (28 February 2018). "Kamtapuri, Rajbanshi make it to list of official languages in". India Today. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 30 March 2018. สืบค้นเมื่อ 30 March 2018.
- ↑ "Multi-lingual Bengal". The Telegraph. 11 December 2012. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 25 March 2018. สืบค้นเมื่อ 25 March 2018.
- ↑ "Sub-national HDI – Area Database". Global Data Lab (ภาษาอังกฤษ). Institute for Management Research, Radboud University. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 23 September 2018. สืบค้นเมื่อ 25 September 2018.
- ↑ "Sex ratio, 0–6 age population, literates and literacy rate by sex for 2001 and 2011 at a glance for West Bengal and the districts: provisional population totals paper 1 of 2011: West Bengal". Government of India:Ministry of Home Affairs. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 7 มกราคม 2012. สืบค้นเมื่อ 29 มกราคม 2012.
- ↑ "Sex Ratio in West Bengal". Census of India 2011. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 27 February 2014.
- ↑ Lochtefeld, James G (2001). The Illustrated Encyclopedia of Hinduism, Volume 2. The Rosen Publishing Group, Inc. p. 771. ISBN 9780823931804.