ข้ามไปเนื้อหา

เจี๋ยง เหว่ย์กั๋ว

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
(เปลี่ยนทางจาก Chiang Wei-kuo)
เจี๋ยง เหว่ย์กั๋ว
蔣緯國
เจี๋ยง เหว่ย์กั๋วในช่วงศึกษาที่เยอรมัน รับราชการทหารในกองทัพแวร์มัคท์ มียศร้อยตรี Fahnenjunker
เลขาธิการสภาความมั่นคงแห่งชาติ คนที่ 4 แห่งสาธารณรัฐจีน
ดำรงตำแหน่ง
18 มิถุนายน ค.ศ. 1986 – 28 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1993
ประธานาธิบดีเจี่ยง จิงกั๋ว
หลี่ เติงฮุ่ย
ก่อนหน้าWang Tao-yuan
ถัดไปShih Chi-yang
ผู้บัญชาการทหารสูงสุดของหน่วยกองทัพร่วม คนที่ 12 แห่งสาธารณรัฐจีน
ดำรงตำแหน่ง
7 เมษายน ค.ศ. 1980 – 30 มิถุนายน ค.ศ. 1984
ประธานาธิบดีเจี่ยง จิงกั๋ว
ก่อนหน้าWang To-nien
ถัดไปWen Ha-hsiung
อธิการบดีคนที่ 2 แห่งมหาวิทยาลัย Tri-service
ดำรงตำแหน่ง
16 สิงหาคม ค.ศ. 1975 – 6 มิถุนายน ค.ศ. 1980
ประธานาธิบดีYen Chia-kan
Chiang Ching-kuo
ก่อนหน้าYu Po-chuan
ถัดไปWang To-nien
อธิการบดีคนที่ 3 วิทยาลัยกองบัญชาการและเจ้าหน้าที่แห่งกองทัพสาธารณรัฐจีน
ดำรงตำแหน่ง
1 กันยายน ค.ศ. 1963 – 31 สิงหาคม 1968
ประธานาธิบดีเจียง ไคเชก
ก่อนหน้าWu Wen-chi
ถัดไปLu Fu-ning
ข้อมูลส่วนบุคคล
เกิด6 ตุลาคม ค.ศ. 1916
โตเกียว, จักรวรรดิญี่ปุ่น
เสียชีวิต22 กันยายน ค.ศ. 1997(1997-09-22) (80 ปี)
ไทเป, สาธารณรัฐจีน (ไต้หวัน)
ที่ไว้ศพWuzhi Mountain Military Cemetery
เชื้อชาติ สาธารณรัฐจีน
พรรคการเมือง พรรคก๊กมินตั๋ง
รางวัลสาธารณรัฐจีน เครื่องอิสริยาภรณ์ตะวันสาดส่อง ท้องฟ้าสีคราม
กางเขนเหล็กชั้นที่ 1
ยศที่ได้รับการแต่งตั้ง
รับใช้ สาธารณรัฐจีน
นาซีเยอรมนี นาซีเยอรมนี
ประจำการนาซีเยอรมนี 1936-1939
สาธารณรัฐจีน 1936, 1939-1997
ยศนาซีเยอรมนี นักเรียนนายร้อย ยศร้อยตรี Fahnenjunker
สาธารณรัฐจีน นายพล
หน่วยกรมทหารติดอาวุธที่ 1
บังคับบัญชาสาธารณรัฐจีน ผู้บัญชาการทหารสูงสุดแห่งกองกำลังติดอาวุธ
ผ่านศึกนาซีเยอรมนี อันชลุส
นาซีเยอรมนี การทัพโปแลนด์
สาธารณรัฐจีน สงครามจีน-ญี่ปุ่นครั้งที่สอง
สาธารณรัฐจีน สงครามกลางเมืองจีน

เจี๋ยง เหว่ย์กั๋ว (จีนตัวเต็ม: 蔣緯國; จีนตัวย่อ: 蒋纬国; พินอิน: Jiǎng Wěiguó,; 6 ตุลาคม ค.ศ. 1916 - 22 กันยายน ค.ศ. 1997 ) เป็นบุตรบุญธรรมของประธานาธิบดีสาธารณรัฐจีน จอมทัพเจียง ไคเชก, น้องชายบุญธรรมของประธานาธิบดี เจี่ยง จิงกั๋ว,

เจี๋ยง เหว่ย์กั๋วเคยดำรงตำแหน่งนายพลแห่งกองทัพปฏิวัติแห่งชาติจีน (ที่เคยรับการศึกษาและฝึกฝนโดยกองทัพแวร์มัคท์ของนาซีเยอรมัน), และเป็นบุคคลสำคัญในพรรคก๊กมินตั๋ง เมื่อสาธารณรัฐจีนถอยมาไต้หวัน เขายังได้เป็นนายพลแห่งกองทัพสาธารณรัฐจีน เขามีชื่อตามธรรมเนียมจีน คือ เจี้ยนเก่า (建鎬) และ เนี่ยนถัง (念堂) แวร์มัคท์มักเรียกเขาว่า เหว่ย์กั๋ว เจี่ยง; (Wego Chiang)

ประวัติ

[แก้]

ชีวิตช่วงแรก

[แก้]
อดีตที่พำนักอาศัยของเจี่ยงเว่ยกั๋วในนครหนานจิง

ในฐานะหนึ่งในบุตรชายสองคนของเจี่ยงไคเชกชื่อของเจี๋ยง เหว่ย์กั๋วมีความหมายเฉพาะตามที่พ่อตั้งใจไว้ "เว่ย" มีความหมายตามตัวอักษรแปลว่า "ขนาน (ของละติจูด)" ขณะที่ "กั๋ว" หมายถึง "ประเทศชาติ"; ซึ่งพี่ชายของเขา, "จิง" แปลตามอักษรแปลว่า "ลองจิจูด" ชื่อได้รับแรงบันดาลใจจากการอ้างอิงในภาษาจีนคลาสสิกเช่นกั๋ว-ยฺหวี่, ที่ซึ่ง "เพื่อวาดเส้นลองจิจูดและละติจูดของโลก" ใช้เป็นการอุปมาสำหรับบุคคลที่มีความสามารถสูงโดยเฉพาะในการบริหารประเทศ

เกิดที่กรุงโตเกียว ขณะเจี่ยงไคเชกและสมาชิกพรรคก๊กมินตั๋งถูกกวาดล้างโดยรัฐบาลเป่ยหยางและหนีลี้ภัยไปที่ญี่ปุ่นด้วยความจำยอม เจี๋ยง เหว่ย์กั๋วเป็นบุตรชายที่แท้จริงของไท้ ชีเตาที่เกิดขณะลี้ภัยกับสุภาพสตรีชาวญี่ปุ่น, (ญี่ปุ่น: ชิเงะมัตสึ คาเนะโกะโรมาจิ重松金子)[1][2][3][4] ก่อนหน้านี้เจี๋ยง เหว่ย์กั๋วทำให้ไม่ยอมรับในคำกล่าวอ้างข่าวลือใด ๆ และยืนยันว่าเขาเป็นลูกชายที่แท้จริงของเจี่ยงไคเชกจนกระทั่งปีต่อมา (ค.ศ. 1988) เมื่อเขายอมรับว่าเขาเป็นลูกบุญธรรม[5]

ตามคำนินทาที่ได้รับความนิยม ไท้เชื่อว่าการรับรู้เกี่ยวกับความสัมพันธ์กับสุภาพสตรีชาวญี่ปุ่นของเขาจะถูกฝ่ายญี่ปุ่นนำไปใช้ทำลายการแต่งงานและอาชีพด้านการงานของเขา ดังนั้นเพื่อแก้ปัญหาเขาจึงยกเจี๋ยงเหว่ย์กั๋วให้เป็นบุตรบุญธรรมของเจียงไคเชก โดยฝากทารกเจี๋ยงกับชาวญี่ปุ่น (ญี่ปุ่น: ยะมาดะ จุนทาโร่โรมาจิ山田純太郎) ไปยังเมืองเซี่ยงไฮ้ในประเทศจีน[1] เหยา เย่เฉิง (姚冶誠), ภรรยาคนที่สองของเจียงไคเชก, ได้รับเลี้ยงดูเจี๋ยง เหว่ย์กั๋วเสมือนแม่บุญธรรม[6]

ปี ค.ศ. 1910 เจี๋ยงเหว่ย์กั๋วได้ย้ายภูมิลำเนาตามเจียงไคเชกไปยังเมืองซีโข่วในเฟิงหัว ต่อมาเจี๋ยงได้เข้าศึกษาด้านเศรษฐศาสตร์ที่มหาวิทยาลัยซูโจว

ในกองทัพแวร์มัคท์

[แก้]
เจี๋ยง เหว่ย์กั๋วขณะเป็นนักเรียนนายร้อยในกองทัพเยอรมัน ปี ค.ศ. 1938

เนื่องจากพี่ชายของเจี๋ยงเหว่ย์กั๋ว เจี่ยง จิงกั๋วถูกควบคุมตัวเป็นเสมือนตัวประกันทางการเมืองในสหภาพโซเวียต โดยโจเซฟ สตาลิน ซึ่งก่อนหน้านี้เคยเป็นนักเรียนที่กำลังศึกษาอยู่ในกรุงมอสโก เจียงไคเชกจึงส่งเจี๋ยงเหว่ย์กั๋วไปยังประเทศเยอรมนีเพื่อการศึกษาด้านการทหารที่ Kriegsschuleในมิวนิค ที่นี่เขาจะได้เรียนรู้หลักคำสอนยุทธวิธีทางทหารของเยอรมันที่ทันสมัยที่สุด อีกทั้งองค์กรและการใช้อาวุธในสนามรบสมัยใหม่ เช่นทฤษฎีแรงบันดาลใจจากเยอรมันของ Maschinengewehr (ปืนกลขนาดกลางในสมัยนั้น หรือปืนกลแบบMG-34)

บทบาทในกองทัพเยอรมัน

[แก้]

อาชีพทางการเมืองและการทหาร

[แก้]

ตำแหน่งของเขาในรัฐบาลสาธารณรัฐจีน ประกอบไปด้วย:

งานเขียน

[แก้]
  • Grand Strategy Summary 《大戰略概說》
  • A Summary of National Strategy 《國家戰略概說》
  • The strategic value of Taiwan in the world 《臺灣在世局中的戰略價值》 (1977)
  • The Middle Way and Life 《中道與人生》 (1979)
  • Soft military offensive 《柔性攻勢》
  • The basic principles of the military system 《軍制基本原理》 (1974)
  • The Z that creates this age 《創造這個時代的Z》

อ้างอิง

[แก้]
  1. 1.0 1.1 2009年08月02日, 人民網, 蔣介石、宋美齡的感情危機與蔣緯國的身世之謎 เก็บถาวร 2012-04-04 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน, 新華網(港澳臺)
  2. 蔣緯國的親媽——重松金子 เก็บถาวร กรกฎาคม 20, 2011 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน, 鳳凰網
  3. 寇維勇 (1989-01-12). "戴季陶之子?蔣緯國是坦然談身世". 聯合 報. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2014-10-06.
  4. 李玉玲 (1995-01-02). "李敖:據蔣介石日記考證 蔣緯國不是蔣公之子". 聯合報. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2014-10-06.
  5. Sep 23, 1997, Last son of Chiang Kai-shek dies เก็บถาวร 2009-05-15 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน, China Informed
  6. 楊湘鈞 (2012-05-29). "蔣緯國生父是誰? 戴傳賢銅像勾起大公案". 聯合報.

บรรณานุกรม

[แก้]
  • Wang Shichun (汪士淳), (1996). Travelling alone for a thousand mountains: The Life of Chiang Wei-kuo (千山獨行 蔣緯國的人生之旅), Tianxia Publishing, Taiwan. ISBN 957-621-338-X
  • Zhou Shao (周劭). The trifles of Chiang Wei-kuo's youth (青年蔣緯國瑣事), within the volume "Huanghun Xiaopin" (黃昏小品), Shanghai Guji Publishing House (上海古籍出版社), Shanghai, 1995. ISBN 7-5325-1235-5
  • KWAN Kwok Huen (關國煊). Biography of Chiang Wei-kuo (蔣緯國小傳). Biography Literature (傳記文學), 78, 4.