กองทัพสาธารณรัฐจีน
กองทัพสาธารณรัฐจีน | |
---|---|
中華民國國軍 | |
ตราประจำกระทรวงกลาโหมแห่งสาธารณรัฐจีน | |
ก่อตั้ง | 16 มิถุนายน ค.ศ. 1924 |
รูปแบบปัจจุบัน | 25 ธันวาคม ค.ศ. 1947 |
เหล่า | กองทัพบกสาธารณรัฐจีน เหล่านาวิกโยธินสาธารณรัฐจีน กองทัพเรือสาธารณรัฐจีน กองทัพอากาศสาธารณรัฐจีน กองทหารสารวัตร กองบัญชาการส่งกำลังบำรุงร่วม |
กองบัญชาการ | ไทเป, สาธารณรัฐจีน (ไต้หวัน) |
ผู้บังคับบัญชา | |
ผู้บัญชาการทหาร | ประธานาธิบดี ไล่ ชิงเต๋อ |
รัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหม | พลเอก เยียน เต๋อ-ฟา |
เสนาธิการ | พลเรือเอก หวง ชู-กวง |
กำลังพล | |
อายุเริ่มบรรจุ | 19 - 40 ปี |
การเกณฑ์ | ราชการทหารภาคบังคับ 1 ปี สำหรับพลเมืองชายอายุระหว่าง 19 ถึง 40 ปี |
ประชากร วัยบรรจุ | 5,883,828, อายุ 18-40 (2548) |
ประชากร ฉกรรจ์ | 4,749,537, อายุ 18-40 (2548) |
ประชากรวัยถึงขั้น ประจำการทุกปี | 174,173 (2548) |
ยอดประจำการ | 300,000 (2024)[1] |
ยอดสำรอง | 2,310,000 (2024)[2] |
รายจ่าย | |
งบประมาณ | $10,500 ล้าน (2551) (อันดับที่ 20) |
ร้อยละต่อจีดีพี | 2.5 (2551) |
อุตสาหกรรม | |
แหล่งผลิตในประเทศ | Aerospace Industrial Development Corporation, Chungshan Institute of Science and Technology, CSBC Corporation, 205th Armory |
แหล่งผลิตนอกประเทศ | สหรัฐอเมริกา ฝรั่งเศส เนเธอร์แลนด์[3] อิสราเอล แอฟริกาใต้ สเปน เยอรมนี อิตาลี เกาหลีใต้ |
บทความที่เกี่ยวข้อง | |
ประวัติ | กองทัพเป่ย์หยาง กองทัพปฏิวัติแห่งชาติจีน |
ยศ | ยศทหาร เครื่องอิสริยาภรณ์ |
กองทัพสาธารณรัฐจีน ประกอบด้วยกองทัพบก กองทัพอากาศ กองทัพเรือ (รวมเหล่านาวิกโยธิน, กำลังทหารสารวัตรและกองทัพกำลังสำรองแห่งสาธารณรัฐจีน) เป็นสถาบันทหาร มีงบประมาณคิดเป็น 16.8% ของงบประมาณกลางในปีงบประมาณ 2546 เดิมเป็นกองทัพปฏิวัติแห่งชาติก่อนเปลี่ยนชื่อเป็นกองทัพสาธารณรัฐจีนในปี 2490 เนื่องจากการบังคับใช้รัฐธรรมนูญ
ก่อนคริสต์ทศวรรษ 1970 ภารกิจหลักของกองทัพ คือ การยึดจีนแผ่นดินใหญ่คืนจากสาธารณรัฐประชาชนจีนที่เป็นคอมมิวนิสต์ผ่านโครงการความรุ่งโรจน์ของชาติ (Project National Glory)[4] แต่ภารกิจสำคัญที่สุดของกองทัพปัจจุบัน คือ การป้องกันเกาะไต้หวัน เผิงหู จินเหมินและหมาจู่จากการบุกครองทางทหารที่เป็นไปได้ของกองทัพปลดปล่อยประชาชน ซึ่งถูกมองว่าเป็นภัยคุกคามที่เด่นสุดของสาธารณรัฐจีน[5][6] ขณะที่ข้อพิพาทว่าด้วยสถานะทางการเมืองของไต้หวันยังดำเนินต่อไป
ประวัติ
[แก้]ส่วนนี้รอเพิ่มเติมข้อมูล คุณสามารถช่วยเพิ่มข้อมูลส่วนนี้ได้ |
ในอดีตเมื่อตั้งสาธารณรัฐจีนกองทัพนั้นค่อนข้างแตกกระจายมีขุนศึกมากมายและรัฐบาลสาธารณรัฐจีนควบคุมโดยรัฐบาลเป่ยหยางในปักกิ่งและมีสงครามระหว่างขุนศึกตลอดเวลาประธานาธิบดีเปลี่ยนแปลงบ่อยมีความขัดแย้งในกองทัพหลังหยวนซื่อไข่ตาย ประเทศจีนแบ่งเป็นแคว้นเป็นก๊ก ไม่ได้รวมกันเป็นหนึ่งเดียวเมื่อ ซุนยัดเซนและเจียงไคเชคเมื่อเห็นว่าตราบใดที่ยังไม่มีกองทัพของพรรคก๊กมินตั๋งเองจีงไม่อาจทำให้จีนรวมกันได้ ในตอนนั้น รัฐบาลรัสเซียนำโดยเลนินยอมรับพรรคก๊กมินตั๋งเป็นผู้ปกครองจีนโดยชอบธรรม เลนินเสนอให้อาวุธและการฝึกการเงินให้และความช่วยเหลือแต่ต้องแลกมาซึ่งให้พรรคคอมมิวนิสต์จีนร่วม รัฐบาลกับพรรคก๊กมินตั๋งโรงเรียนทหารและการปกครองหวางผู่ ซึ่งนับเป็นผลิตผลแรกของความร่วมมือระหว่างซุนยัตเซ็นกับพรรคคอมมิวนิสต์จีน โรงเรียนทหารและการปกครองที่จัดตั้งขึ้น มีซุนยัตเซ็นเป็นผู้อำนวยการ และเจี่ยงจงเจิ้ง (蔣中正) หรือเจียงไคเช็ค เป็นครูใหญ่ ดร.ซุนได้วางจุดประสงค์ไว้ที่การ “สร้างกองกำลังปฏิวัติ เพื่อช่วยจีนให้พ้นวิกฤต” มีการจัดสอนการใช้อาวุธ สอนแนวความคิดลัทธิไตรราษฎร์ และแนวความคิดของลัทธิมาร์กซ์ โดยให้ความสำคัญทั้งหลักสูตรทางด้านการทหารและการปกครอง จนสามารถสร้างบุคลากรชั้นนำในประเทศในภายหลังได้เป็นจำนวนมาก โดยระหว่างปีค.ศ. 1924-1949 มีนักเรียนที่จบทั้งสิ้น 23 รุ่น เมื่อรวมนักเรียนที่จบออกมาจากโรงเรียน และสาขาแล้วมีมากถึง 230,000 คน
การจัดระเบียบเหล่าทัพ
[แก้]กองกำลังของสาธารณรัฐจีนถูกจัดระเบียบดังนี้ดังนี้
- กองทัพบกสาธารณรัฐจีน (ROCA, Republic of China Army)
- กองทัพอากาศสาธารณรัฐจีน ( ROCAF , Republic of China Air Force)
- กองทัพเรือสาธารณรัฐจีน (ROCN, Republic of China Navy)
- กองทหารสารวัตรสาธารณรัฐจีน (ROCMP, Republic of China Military Police)
- กองบัญชาการส่งกำลังบำรุงร่วม (Republic of China Joint Logistics Command)
- กองกำลังสำรองสาธารณรัฐจีน (Republic of China Armed Forces Reserve Command)
โครงสร้าง
[แก้]ส่วนนี้รอเพิ่มเติมข้อมูล คุณสามารถช่วยเพิ่มข้อมูลส่วนนี้ได้ |
บุคลากร
[แก้]ส่วนนี้รอเพิ่มเติมข้อมูล คุณสามารถช่วยเพิ่มข้อมูลส่วนนี้ได้ |
งบประมาณ
[แก้]ส่วนนี้รอเพิ่มเติมข้อมูล คุณสามารถช่วยเพิ่มข้อมูลส่วนนี้ได้ |
การศึกษา
[แก้]ส่วนนี้รอเพิ่มเติมข้อมูล คุณสามารถช่วยเพิ่มข้อมูลส่วนนี้ได้ |
ยุทธภัณฑ์
[แก้]อาวุธประจำกาย
[แก้]ส่วนนี้รอเพิ่มเติมข้อมูล คุณสามารถช่วยเพิ่มข้อมูลส่วนนี้ได้ |
อาวุธประจำหน่วย
[แก้]ส่วนนี้รอเพิ่มเติมข้อมูล คุณสามารถช่วยเพิ่มข้อมูลส่วนนี้ได้ |
ศาลทหาร
[แก้]ส่วนนี้รอเพิ่มเติมข้อมูล คุณสามารถช่วยเพิ่มข้อมูลส่วนนี้ได้ |
ความสัมพันธ์ทางทหาร
[แก้]ส่วนนี้รอเพิ่มเติมข้อมูล คุณสามารถช่วยเพิ่มข้อมูลส่วนนี้ได้ |
ดูเพิ่ม
[แก้]หนังสืออ่านเพิ่มเติม
[แก้]เชิงอรรถ
[แก้]- ↑ Dotson, John (February 8, 2023). "Taiwan's "Military Force Restructuring Plan" and the Extension of Conscripted Military Service". Global Taiwan Brief. Global Taiwan Institute.
- ↑ IISS 2023, p. 291.
- ↑ Look at Dutch-built Zwaardvis class submarine
- ↑ "Overview - Taiwan Military Agencies". globalsecurity.org. สืบค้นเมื่อ 2006-03-05.
- ↑ "2004 National Defense White Paper" (PDF). ROC Ministry of National Defense. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม (PDF)เมื่อ 2006-09-01. สืบค้นเมื่อ 2006-03-05.
- ↑ "2004 National Defense Report" (PDF). ROC Ministry of National Defense. 2004. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม (PDF)เมื่อ 2006-03-11. สืบค้นเมื่อ 2006-03-05.
อ้างอิง
[แก้]บรรณานุกรม
[แก้]- IISS (2023). The Military Balance 2023. London: Routledge. ISBN 978-1-032-50895-5.