ปานแดงในทารก
หน้าตา
(เปลี่ยนทางจาก Capillary hemangioma)
เนื้องอกหลอดเลือดในทารก (Infantile hemangioma) | |
---|---|
ชื่ออื่น | Infantile haemangioma, emangioma, capillary hemangioma, capillary angioma, strawberry haemangioma, strawberry mark [1][2] |
ปานแดงขนาดเล็กบนผิวหนังทารก | |
สาขาวิชา | ตจวิทยา, วิทยาทางเดินอาหาร, Oral and Maxillofacial Surgery |
อาการ | Raised red or blue lesion[3] |
ภาวะแทรกซ้อน | เจ็บ, เลือดออก, เป็นแผล, หัวใจวาย, เสียรูปลักษณ์[1] |
การตั้งต้น | แรกเกิดถึงอายุ 4 สัปดาห์[1] |
ประเภท | Superficial, deep, mixed[1] |
ปัจจัยเสี่ยง | เพศหญิง, ผิวขาว, เกิดก่อนกำหนด, น้ำหนักแรกเกิดน้อย[1] |
วิธีวินิจฉัย | วินิจฉัยจากอาการและลักษณะที่ปรากฎ[1] |
โรคอื่นที่คล้ายกัน | Congenital hemangioma, pyogenic granuloma, kaposiform hemangioendothelioma, tufted angioma, venous malformation,[1] other vascular anomaly[4] |
การรักษา | การสังเกตอาการอย่างใกล้ชิด, การใช้ยา[5][1] |
ยา | Propranolol, Timolol, steroids[5][1] |
ความชุก | Up to 5%[5] |
เนื้องอกหลอดเลือดในทารก[6] (อังกฤษ: infantile hemangioma) หรือ ปานแดง, ปานสตรอว์เบอร์รี่[7][8]: 593 [9][10] เป็นเนื้องอกไม่ร้ายชนิดหนึ่งของหลอดเลือด พบในเด็ก[1][2] มีลักษณะเป็นรอยนูนสีแดงหรือสีม่วงบนผิวหนัง[3] มักปรากฎขึ้นในช่วงอายุแรกเกิดถึง 4 สัปดาห์[11] มีขนาดโตขึ้นเรื่อยๆ จนโตที่สุดที่อายุประมาณ 5 เดือน หลังจากนั้นจะค่อยๆ เล็กลงจนหายไปใน 2-3 ปี[1][2] หลังหายไปแล้วอาจทิ้งร่องรอยเอาไว้บนผิวหนังได้[1][5] ภาวะแทรกซ้อนที่อาจพบได้ ได้แก่ เจ็บ มีเลือดออก เป็นแผล เสียรูปลักษณ์ รวมถึงอาจทำให้หัวใจวายได้[1] ถือเป็นเนื้องอกของตาและอวัยวะรอบตาที่พบได้บ่อยที่สุดในเด็ก อาจเกิดขึ้นที่ผิวหนัง ชั้นใต้ผิวหนัง ผิวเยื่อเมือก ในช่องปาก ริมฝีปาก และที่อื่นที่ไม่ใช่ผิวหนัง เช่น ในตับ หรือในทางเดินอาหาร ก็ได้
อ้างอิง
[แก้]- ↑ 1.00 1.01 1.02 1.03 1.04 1.05 1.06 1.07 1.08 1.09 1.10 1.11 1.12 Darrow, DH; Greene, AK; Mancini, AJ; Nopper, AJ (October 2015). "Diagnosis and Management of Infantile Hemangioma". Pediatrics. 136 (4): e1060-104. doi:10.1542/peds.2015-2485. PMID 26416931.
- ↑ 2.0 2.1 2.2 "Birthmarks NHS". nhs.uk (ภาษาอังกฤษ). 2017-10-20. สืบค้นเมื่อ 2021-04-16.
- ↑ 3.0 3.1 "Infantile Hemangiomas". Merck Manuals Professional Edition. สืบค้นเมื่อ 7 January 2019.
- ↑ Workshop, ISSVA. "ISSVA Classification of Vascular Anomalies" (PDF). ISSVA Classification pdf. ISSVA. สืบค้นเมื่อ 23 March 2022.
- ↑ 5.0 5.1 5.2 5.3 อ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ
<ref>
ไม่ถูกต้อง ไม่มีการกำหนดข้อความสำหรับอ้างอิงชื่อKr2019
- ↑ เลาหสุรโยธิน, สุภานัน (3 November 2021). "โรคเนื้องอกหลอดเลือด (Hemangioma)". chulalongkornhospital.go.th. หน่วยโลหิตวิทยาและมะเร็งเด็ก ฝ่ายกุมารเวชศาสตร์. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2022-07-18. สืบค้นเมื่อ 19 July 2022.
- ↑ เล็กวุฒิกานต์, รัมภ์รดา. "มาทำความรู้จักปานสตรอว์เบอร์รี่กันเถอะ" (PDF). rama.mahidol.ac.th. สืบค้นเมื่อ 19 July 2022.
- ↑ James W, Berger T, Elston D (2005). Andrews' Diseases of the Skin: Clinical Dermatology (10th ed.). Saunders. ISBN 0-7216-2921-0.
- ↑ "What is Infantile Hemangioma (Strawberry Birthmark)?".
- ↑ Ronald P R, Jean L B, Joseph L J (2007). Dermatology: 2-Volume Set. St. Louis: Mosby. ISBN 978-1-4160-2999-1.
- ↑ อ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ
<ref>
ไม่ถูกต้อง ไม่มีการกำหนดข้อความสำหรับอ้างอิงชื่อparenting_child_health
แหล่งข้อมูลอื่น
[แก้]การจำแนกโรค | |
---|---|
ทรัพยากรภายนอก |