ข้ามไปเนื้อหา

434 ฮังกาเรีย

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
434 ฮังกาเรีย
การค้นพบ
ค้นพบโดย:แม็กซ์ วูล์ฟ
ค้นพบเมื่อ:11 กันยายน ค.ศ. 1898
ชื่ออื่น ๆ:ไม่มี
ชนิดของดาวเคราะห์น้อย:แถบดาวเคราะห์น้อย
ตระกูลฮังกาเรีย
ลักษณะของวงโคจร
ต้นยุคอ้างอิง 30 มกราคม 2005 (JD 2453400.5)
ระยะจุดไกล
ดวงอาทิตย์ที่สุด
:
312.334 Gm (2.088 AU)
ระยะจุดใกล้
ดวงอาทิตย์ที่สุด
:
269.343 Gm (1.8 AU)
กึ่งแกนเอก:290.838 Gm (1.944 AU)
ความเยื้องศูนย์กลาง:0.074
คาบดาราคติ:990.102 d (2.71 a)
อัตราเร็วเฉลี่ย
ในวงโคจร
:
21.36 km/s
มุมกวาดเฉลี่ย:134.082°
ความเอียง:22.509°
ลองจิจูด
ของจุดโหนดขึ้น
:
175.406°
มุมของจุด
ใกล้ดวงอาทิตย์ที่สุด
:
123.87°
ลักษณะทางกายภาพ
มิติ:13 - 30 km
มวล:ไม่ทราบ
ความหนาแน่นเฉลี่ย:ไม่ทราบ
ความโน้มถ่วง
ที่ศูนย์สูตร:
ไม่ทราบ
ความเร็วหลุดพ้น:ไม่ทราบ
คาบการหมุน
รอบตัวเอง
:
ไม่ทราบ
อัตราส่วนสะท้อน:ไม่ทราบ
อุณหภูมิ:ไม่ทราบ
ชนิดสเปกตรัม:ดาวเคราะห์น้อยประเภท E

434 ฮังกาเรีย เป็นดาวเคราะห์น้อยที่อยู่ในแถบดาวเคราะห์น้อยหลัก จัดเป็นดาวเคราะห์น้อยประเภท E (คือมีค่าสัมประสิทธิ์การสะท้อนแสงสูง) ชื่อของดาวเคราะห์น้อยดวงนี้ใช้เป็นชื่อตระกูลดาวเคราะห์น้อยฮังกาเรีย ซึ่งเป็นกลุ่มของดาวเคราะห์น้อยที่มีวงโคจรต่ำกว่าช่องว่างเคิร์กวูด 1:4 ห่างออกมาจากแกนกลางของแถบหลัก[1]

แมกซ์ วูล์ฟ แห่งมหาวิทยาลัยไฮเดลเบิร์ก เป็นผู้ค้นพบดาวเคราะห์น้อยดวงนี้เมื่อวันที่ 11 กันยาย ค.ศ. 1898 ชื่อของดาวเคราะห์น้อยตั้งตามสถานที่จัดประชุมทางดาราศาสตร์ในปี ค.ศ. 1898 ที่กรุงบูดาเปสต์ ประเทศฮังการี[2]

อ้างอิง

[แก้]
  1. Spratt, Christopher E. (April 1990). "The Hungaria group of minor planets". Journal of the Royal Astronomical Society of Canada (abstract). 84 (2): 123–131. Bibcode:1990JRASC..84..123S. ISSN 0035-872X.
  2. Kelley, Michael S.; Gaffey, Michael J. (December 2002). "High-albedo asteroid 434 Hungaria: Spectrum, composition and genetic connections". Meteoritics & Planetary Science (abstract). 37 (12): 1815–1827. Bibcode:2002M&PS...37.1815K. doi:10.1111/j.1945-5100.2002.tb01165.x.