ข้ามไปเนื้อหา

10 ไฮเจีย

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
10 ไฮเจีย  ⯚ ()

ภาพ 10 ไฮเจีย
การค้นพบ
ค้นพบโดย:แอนนิเบล เดอ แกสปารีส
ค้นพบเมื่อ:12 เมษายน ค.ศ. 1849
ชื่ออื่น ๆ:ไม่มี
ชนิดของดาวเคราะห์น้อย:แถบดาวเคราะห์น้อย
ตระกูลไฮเจีย
ลักษณะของวงโคจร[1]
ต้นยุคอ้างอิง 30 พฤศจิกายน 2008 (JD 2454800.5)
ระยะจุดไกล
ดวงอาทิตย์ที่สุด
:
524.63 Gm
(3.507 AU) (Q)
ระยะจุดใกล้
ดวงอาทิตย์ที่สุด
:
414.38 Gm
(2.770 AU) (q)
กึ่งแกนเอก:469.58 Gm (3.139 AU)
ความเยื้องศูนย์กลาง:0.117
คาบดาราคติ:2031.01 d (5.56 a)
อัตราเร็วเฉลี่ย
ในวงโคจร
:
16.76 km/s
มุมกวาดเฉลี่ย:197.96° (M)
ความเอียง:3.842°
ลองจิจูด
ของจุดโหนดขึ้น
:
283.45°
มุมของจุด
ใกล้ดวงอาทิตย์ที่สุด
:
313.19°
ลักษณะทางกายภาพ
มิติ:530×407×370 km[2]

500×385×350 km[3][4]

407 km[1]
มวล:8.85×1019 kg[2]
ความหนาแน่นเฉลี่ย:2.12 ± 0.11 g/cm³[2]
ความโน้มถ่วง
ที่ศูนย์สูตร:
0.091 m/s²
ความเร็วหลุดพ้น:0.21 km/s
คาบการหมุน
รอบตัวเอง
:
27.623 h[1]
อัตราส่วนสะท้อน:0.0717 [1]
อุณหภูมิ:~164 K
สูงสุด: 247 K (−26° C) [5]
อุณหภูมิพื้นผิว:
ต่ำสุดเฉลี่ยสูงสุด
ชนิดสเปกตรัม:ดาวเคราะห์น้อยประเภท C[1]
ขนาดเชิงมุม:0.318" ถึง 0.133"

10 ไฮเจีย (กรีก: ‘Υγιεία; อังกฤษ: Hygiea) เป็นดาวเคราะห์น้อยดวงหนึ่งในแถบดาวเคราะห์น้อย มีขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางในแนวรีประมาณ 350 - 500 กิโลเมตร และมีมวลคิดเป็นประมาณ 2.9% ของมวลรวมทั้งหมดของดาวเคราะห์น้อยในแถบหลัก[6] ถือเป็นดาวเคราะห์น้อยที่ใหญ่ที่สุดเป็นลำดับที่สี่ทั้งโดยปริมาตรและมวล รวมถึงเป็นดาวเคราะห์น้อยขนาดใหญ่ที่สุดสำหรับกลุ่มดาวเคราะห์น้อยมืด (คือ ดาวเคราะห์น้อยประเภท C) ซึ่งมีส่วนประกอบคาร์บอนอยู่บนพื้นผิวค่อนข้างมาก

แม้ไฮเจียจะเป็นดาวเคราะห์น้อยที่มีขนาดใหญ่มาก แต่ด้วยพื้นผิวที่ค่อนข้างมืดและยังอยู่ห่างจากดวงอาทิตย์มาก จึงปรากฏให้โลกเห็นเพียงริบหรี่ ดาวเคราะห์น้อยอื่นที่มีขนาดเล็กกว่าจึงถูกค้นพบก่อนที่ แอนนาเบล เดอ แกสปารีส จะค้นพบไฮเจียเมื่อวันที่ 12 เมษายน ค.ศ. 1849 ไฮเจียมีค่าความส่องสว่างปรากฏต่ำกว่าเวสต้าถึง 4 เท่า และต้องใช้กล้องโทรทรรศน์ขนาด 100 มม. เป็นอย่างน้อย จึงจะสามารถมองเห็น

อ้างอิง

[แก้]
  1. 1.0 1.1 1.2 1.3 1.4 "JPL Small-Body Database Browser: 10 Hygiea". สืบค้นเมื่อ 2008-09-07.
  2. 2.0 2.1 2.2 Jim Baer (2008). "Recent Asteroid Mass Determinations". Personal Website. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2013-07-08. สืบค้นเมื่อ 2008-12-03.
  3. Baer, James; Steven R. Chesley (2008). "Astrometric masses of 21 asteroids, and an integrated asteroid ephemeris" (PDF). Celestial Mechanics and Dynamical Astronomy. Springer Science+Business Media B.V. 2007. 100 (2008): 27–42. doi:10.1007/s10569-007-9103-8. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม (PDF)เมื่อ 2011-02-24. สืบค้นเมื่อ 2008-11-11. เก็บถาวร 2011-02-24 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน
  4. M. Kaasalainen; และคณะ (2002). "Models of Twenty Asteroids from Photometric Data" (PDF). Icarus. 159: 369. doi:10.1006/icar.2002.6907. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม (PDF)เมื่อ 2008-02-16. สืบค้นเมื่อ 2008-12-04.
  5. L.F. Lim; และคณะ (2005). "Thermal infrared (8–13 µm) spectra of 29 asteroids: the Cornell Mid-Infrared Asteroid Spectroscopy (MIDAS) Survey". Icarus. 173: 385. doi:10.1016/j.icarus.2004.08.005.
  6. "Mass of 10 Hygiea" 0.445 / "Mass of Mbelt" เก็บถาวร 2008-10-31 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน 15 = 0.0296