สมองอักเสบ
บทความนี้ไม่มีการอ้างอิงจากแหล่งที่มาใด |
สมองอักเสบ (Encephalitis) | |
---|---|
ภาพ MRI T2 แนว coronal แสดงให้เห็นสมองซึ่งมี high signal ใน temporal lobe รวมถึง hippocampal formations และ parahippocampal gyrae, insulae และ inferior frontal gyrus ด้านขวา ผลชิ้นเนื้อสมองของผู้ป่วยรายนี้พบว่าเป็นสมองอักเสบ ทำ PCR จากชิ้นเนื้อพบว่ามี HSV | |
สาขาวิชา | ประสาทวิทยา, โรคติดเชื้อ |
อาการ | ปวดศีรษะ, มีไข้, สับสน, คอแข็งเกร็ง, อาเจียน[1] |
ภาวะแทรกซ้อน | โรคลมชัก, พูดลำบาก, memory problems, problems hearing[1] |
ระยะดำเนินโรค | ใช้เวลาฟื้นตัวหลายสัปดาห์ถึงหลายเดือน[1] |
ประเภท | Herpes simplex, West Nile, rabies, Eastern equine, others[2] |
สาเหตุ | การติดเชื้อ, ภูมิต้านตนเอง, ยาบางชนิด, อาจไม่พบสาเหตุ[2] |
วิธีวินิจฉัย | วินิจฉัยจากอาการ, การตรวจเลือด, ภาพถ่ายรังสีระบบประสาท, การตรวจน้ำไขสันหลัง[2] |
การรักษา | ยาต้านไวรัส, ยาต้านชัก, สเตียรอยด์, การช่วยหายใจ[1] |
พยากรณ์โรค | มีได้หลากหลาย[1] |
ความชุก | 4.3 ล้านคน (ค.ศ. 2015)[3] |
การเสียชีวิต | 150,000 คน (ค.ศ. 2015)[4] |
สมองอักเสบ (อังกฤษ: encephalitis) เป็นภาวะซึ่งมีการอักเสบเฉียบพลันของสมอง หากเกิดร่วมกับเยื่อหุ้มสมองอักเสบเรียกว่าเยื่อหุ้มสมองและสมองอักเสบ อาการที่พบได้เช่นปวดศีรษะ ไข้ สับสน ซึม และอ่อนเพลีย หากเป็นมากอาจมีอาการรุนแรง เช่น ชัก สั่น ประสาทหลอน ความจำเสื่อม เป็นต้น[5]
สาเหตุ
[แก้]เชื้อไวรัส
[แก้]สมองอักเสบจากไวรัสอาจเกิดจากการติดเชื้อโดยตรงจากการติดเชื้อเฉียบพลัน หรือเป็นผลตามภายหลังจากการติดเชื้อแฝงก็ได้ ไวรัสที่ทำให้เกิดสมองอักเสบเฉียบพลันจากไวรัสที่พบบ่อยคือ ไวรัสพิษสุนัขบ้า เฮอร์ปีส์ โปลิโอ หัด และไวรัสเจซี สาเหตุอื่นเช่นการติดเชื้อไวรัสในกลุ่มฟลาวิไวรัส เช่น ไวรัสไข้สมองอักเสบญี่ปุ่น ไวรัสสมองอักเสบเซนต์หลุยส์ ไวรัสเวสต์ไนล์ หรือไวรัสในกลุ่มโทกาไวรัส เช่น ไวรัสสมองอักเสบในม้าชนิดตะวันออก ไวรัสสมองอักเสบในม้าชนิดตะวันตก หรือไวรัสสมองอักเสบในม้าชนิดเวเนซุเอลา นอกจากนี้ไวรัสในกลุ่มเฮนิพาไวรัส เฮนดราไวรัส และนิพาห์ไวรัส ก็สามารถทำให้เกิดสมองอักเสบจากไวรัสได้
เชื้อแบคทีเรีย
[แก้]ส่วนนี้รอเพิ่มเติมข้อมูล คุณสามารถช่วยเพิ่มข้อมูลส่วนนี้ได้ |
ภาวะภูมิต้านตนเอง
[แก้]ส่วนนี้รอเพิ่มเติมข้อมูล คุณสามารถช่วยเพิ่มข้อมูลส่วนนี้ได้ |
การรักษา
[แก้]ส่วนนี้รอเพิ่มเติมข้อมูล คุณสามารถช่วยเพิ่มข้อมูลส่วนนี้ได้ |
การป้องกัน
[แก้]ส่วนนี้รอเพิ่มเติมข้อมูล คุณสามารถช่วยเพิ่มข้อมูลส่วนนี้ได้ |
อ้างอิง
[แก้]- ↑ 1.0 1.1 1.2 1.3 1.4 อ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ
<ref>
ไม่ถูกต้อง ไม่มีการกำหนดข้อความสำหรับอ้างอิงชื่อNIH207Main
- ↑ 2.0 2.1 2.2 อ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ
<ref>
ไม่ถูกต้อง ไม่มีการกำหนดข้อความสำหรับอ้างอิงชื่อNIH2017Fact
- ↑ อ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ
<ref>
ไม่ถูกต้อง ไม่มีการกำหนดข้อความสำหรับอ้างอิงชื่อGBD2015Pre
- ↑ อ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ
<ref>
ไม่ถูกต้อง ไม่มีการกำหนดข้อความสำหรับอ้างอิงชื่อGBD2015De
- ↑ "โรคไข้สมองอักเสบ (Encephalitis)". ประชาชื่น MRI. 2020-03-20. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2021-04-18. สืบค้นเมื่อ 2021-03-08.
แหล่งข้อมูลอื่น
[แก้]การจำแนกโรค | |
---|---|
ทรัพยากรภายนอก |