ข้ามไปเนื้อหา

ฮิสตามีน

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
(เปลี่ยนทางจาก Histamine)
ฮิสตามีน
ชื่อ
IUPAC name
2-(1H-imidazol-4-yl)ethanamine
เลขทะเบียน
3D model (JSmol)
ChEBI
ChEMBL
เคมสไปเดอร์
ECHA InfoCard 100.000.092 แก้ไขสิ่งนี้ที่วิกิสนเทศ
KEGG
UNII
  • InChI=1S/C5H9N3/c6-2-1-5-3-7-4-8-5/h3-4H,1-2,6H2,(H,7,8) checkY
    Key: NTYJJOPFIAHURM-UHFFFAOYSA-N checkY
  • InChI=1/C5H9N3/c6-2-1-5-3-7-4-8-5/h3-4H,1-2,6H2,(H,7,8)
    Key: NTYJJOPFIAHURM-UHFFFAOYAP
  • NCCC1=C[N]C=N1
คุณสมบัติ
C5H9N3
มวลโมเลกุล 111.148 g·mol−1
จุดหลอมเหลว 83.5 องศาเซลเซียส (182.3 องศาฟาเรนไฮต์; 356.6 เคลวิน)
จุดเดือด 209.5 องศาเซลเซียส (409.1 องศาฟาเรนไฮต์; 482.6 เคลวิน)
Easily soluble in cold water, hot water[1]
ความสามารถละลายได้ ใน other solvents Easily soluble in methanol. Very slightly soluble in diethyl ether.[1] Easily soluble in ethanol.
log P −0.7[2]
pKa Imidazole: 6.04
Terminal NH2: 9.75[2]
เภสัชวิทยา
L03AX14 (WHO)
หากมิได้ระบุเป็นอื่น ข้อมูลข้างต้นนี้คือข้อมูลสาร ณ ภาวะมาตรฐานที่ 25 °C, 100 kPa

ฮีสตามีน (อังกฤษ: Histamine) เป็นสารที่มีบทบาทสำคัญในกระบวนการอักเสบ หลั่งจากมาสต์เซลล์ (Mast cell) เบโซฟิล และเกล็ดเลือด เมื่อเนื้อเยื่อถูกทำลาย ฮีสตามีนที่หลังมาจากเซลล์เหล่านี้จะจับกับตัวรับ (Receptor) ที่เส้นเลือดฝอยและเส้นเลือดดำขนาดเล็ก (Venule) ทำให้เส้นเลือดขยายตัวและเพิ่มการไหลผ่านของพลาสมาในเส้นเลือด

ดูเพิ่ม

[แก้]

แหล่งข้อมูลอื่น

[แก้]
  1. 1.0 1.1 http://www.sciencelab.com/msds.php?msdsId=9924264
  2. 2.0 2.1 Vuckovic, Dajana; Pawliszyn, Janusz (15 March 2011). "Systematic Evaluation of Solid-Phase Microextraction Coatings for Untargeted Metabolomic Profiling of Biological Fluids by Liquid Chromatography−Mass Spectrometry". Analytical Chemistry. Supporting Information. 83 (6): 1944–1954. doi:10.1021/ac102614v.