วี.ลีก ดิวิชัน 1
หน้าตา
(เปลี่ยนทางจาก วี-ลีก (ประเทศเวียดนาม))
ก่อตั้ง | 1980 |
---|---|
ประเทศ | เวียดนาม |
สมาพันธ์ | AFC |
จำนวนทีม | 14 |
ระดับในพีระมิด | 1 |
ตกชั้นสู่ | วี.ลีก ดิวิชัน 2 |
ถ้วยระดับประเทศ | เวียดนามคัพ |
ถ้วยระดับนานาชาติ | เอเอฟซีแชมเปียนส์ลีก เอเอฟซีคัพ อาเซียนคลับแชมเปียนชิพ |
ทีมชนะเลิศปัจจุบัน | นามดิ่ญ (สมัยที่ 2) (2023–24) |
ชนะเลิศมากที่สุด | วิเอตเตล ฮานอย (6 สมัย) |
หุ้นส่วนโทรทัศน์ | Hanoi TV, HTV, VTC, VTV |
เว็บไซต์ | http://www.vnleague.com |
ปัจจุบัน: วี.ลีก ดิวิชัน 1 ฤดูกาล 2024–25 |
วี.ลีก ดิวิชัน 1 (อังกฤษ: V.League 1; เวียดนาม: Giải vô địch bóng đá Việt Nam) เป็นการแข่งขันฟุตบอลลีกอาชีพ ระดับสูงสุดของประเทศเวียดนาม ก่อตั้งในปี พ.ศ. 2523 (ฤดูกาล 1980) โดยมีสโมสรฟุตบอลที่เข้าร่วมการแข่งขันทั้งสิ้น 14 ทีม และมีการเล่นในแบบการแข่งเหย้าและเยือน เมื่อจบฤดูกาลทีมอันดับแรกจะได้ผ่านเข้าไปเล่นในเอเอฟซีแชมเปียนส์ลีก
สโมสร
[แก้]สโมสรที่เข้าร่วมแข่งขันในฤดูกาล 2023–24
สโมสร | ที่ตั้ง | สนามเหย้า | ความจุ | ผลงานฤดูกาลก่อน |
---|---|---|---|---|
บิ่ญดิ่ญ | กวีเญิน (จังหวัดบิ่ญดิ่ญ) | สนามกีฬากวีเญิน | 15,000 | VL1 (7th) |
บีคาเม็กซ์ บินห์เยือง | ถูเสิ่วหมต (จังหวัดบิ่ญเซือง) | สนามกีฬาก่อเดิ่ว | 13,035 | VL1 (12th) |
ฮหว่างอัญซาลาย | เปล็ยกู (จังหวัดซาลาย) | สนามกีฬาเปล็ยกู | 12,000 | VL1 (10th) |
ไฮฟอง | ไฮฟอง | สนามกีฬาหลักจัย | 30,000 | VL1 (6th) |
ฮานอย | ฮานอย | สนามกีฬาห่างเด๋ย | 22,500 | VL1 (2nd) |
กงอันฮานอย | VL1 (1st) | |||
วิเอตเตล | VL1 (3rd) | |||
ห่งหลิญห่าติ๋ญ | ห่าติ๋ญ (จังหวัดห่าติ๋ญ) | สนามกีฬาห่าติ๋ญ | 20,000 | VL1 (8th) |
นครโฮจิมินห์ | นครโฮจิมินห์ | สนามกีฬาท้งเญิ้ต | 16,000 | VL1 (13th) |
ซันนาคั้ญฮหว่า | จังหวัดคั้ญฮหว่า | 19 August | 18,000 | VL1 (11th) |
นามดิญ | นามดิ่ญ (จังหวัดนามดิ่ญ) | สนามกีฬาเทียนเจื่อง | 30,000 | VL1 (5th) |
ซงลามเหงะอาน | วิญ (จังหวัดเหงะอาน) | สนามกีฬาวิญ | 18,000 | VL1 (9th) |
ทันกว๋างนิญ | เกิ๋มฝา (จังหวัดกว๋างนิญ) | สนามฟุตบอลฮหว่าซวน (ชั่วคราว) | 15,000 20,500 |
VL2 (1st) |
ดงอ๊าทัญฮว้า | ทัญฮว้า (จังหวัดทัญฮว้า) | สนามกีฬาทัญฮว้า | 12,000 | VL1 (4th) |
ทำเนียบสโมสรชนะเลิศ
[แก้]- 2023-24 : นามดิ่ญ (Thép Xanh Nam Định ) (2)
- 2023 : กงอันฮานอย (Công An Hà Nội) (2)
- 2022 : ฮานอย (Hà Nội) (6)
- 2021 : ยกเลิกการแข่งขัน[1]
- 2020 : วิเอตเตล (6)
- 2019 : ฮานอย (Hà Nội) (5)
- 2018 : ฮานอย (Hà Nội) (4)
- 2017 : คิวเอ็นเคกว๋างนาม (Quảng Nam)
- 2016 : ฮานอยทีแอนด์ที (Hà Nội T&T) (3)
- 2015 : เบกาเม็กซ์ บิ่ญเซือง (Becamex Bình Dương) (4)
- 2014 : เบกาเม็กซ์ บิ่ญเซือง (Becamex Bình Dương) (3)
- 2013 : ฮานอยทีแอนด์ที (Hà Nội T&T) (2)
- 2012 : เอสเอชบี ดานัง (SHB Đà Nẵng) (3)
- 2011 : ซงลาม เหงะอาน (Sông Lam Nghệ An) (3)
- 2010 : ฮานอยทีแอนด์ที (Hà Nội T&T)
- 2009 : เอสเอชบี ดานัง (SHB Đà Nẵng) (2)
- 2008 : เบกาเม็กซ์ บิ่ญเซือง (Becamex Bình Dương) (2)
- 2007 : เบกาเม็กซ์ บิ่ญเซือง (Becamex Bình Dương)
- 2006 : ด่งเติมล็องอาน (Đồng Tâm Long An) (2)
- 2005 : ด่งเติมล็องอาน (Đồng Tâm Long An)
- 2004 : ฮหว่างอัญซาลาย (Hoàng Anh Gia Lai) (2)
- 2003 : ฮหว่างอัญซาลาย (Hoàng Anh Gia Lai)
- 2001-02 ท่าเรือไซ่ง่อน (Cảng Sài Gòn) (4)
- 2000-01 ซงลาม เหงะอาน (Sông Lam Nghệ An) (2)
- 1999-00 ซงลาม เหงะอาน (Sông Lam Nghệ An)
- 1998 : กระทรวงกลาโหมเวียดนาม (Câu Lạc Bộ Quân Đội) (5)
- 1997 : ท่าเรือไซ่ง่อน (Cảng Sài Gòn) (3)
- 1996 : ด่งท้าป (Đồng Tháp)
- 1995 : ตำรวจนครบาลเวียดนาม (Công An Thành Phố)
- 1993-94 ท่าเรือไซ่ง่อน (Cảng Sài Gòn) (2)
- 1992 : พนักงานกวั๋งนาม-ดานัง (Công Nhân Quảng Nam Đà Nẵng )
- 1991 : กรมศุลกากรเวียดนาม (Hải Quan)
- 1990 : กระทรวงกลาโหมเวียดนาม (Câu Lạc Bộ Quân Đội) (4)
- 1989 : ด่งท้าป (Đồng Tháp)
- 1987-88 : กระทรวงกลาโหมเวียดนาม (Câu Lạc Bộ Quân Đội) (3)
- 1986 : ท่าเรือไซ่ง่อน (Cảng Sài Gòn)
- 1985 : บริษัทอุตสาหกรรมห่านามนิญ (Công Nghiệp Hà Nam Ninh)
- 1984 : ตำรวจฮานอย (Công An Hà Nội)
- 1982-83 : กระทรวงกลาโหมเวียดนาม (Câu Lạc Bộ Quân Đội) (2)
- 1981-82 : กระทรวงกลาโหมเวียดนาม (Câu Lạc Bộ Quân Đội)
- 1980 : กรมรถไฟเวียดนาม (Tổng Cục Đường Sắt)
อ้างอิง
[แก้]แหล่งข้อมูลอื่น
[แก้]- เว็บไซต์อย่างเป็นทางการ (ภาษาเวียดนาม)
- เว็บไซต์อย่างเป็นทางการ (ภาษาอังกฤษ)