ข้ามไปเนื้อหา

เมืองหลวงทางวัฒนธรรมของอาหรับ

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี

เมืองหลวงทางวัฒนธรรมอาหรับ อยู่ภายใต้การจัดการขององค์การยูเนสโก[1] ในโครงการเมืองหลวงทางวัฒนธรรม เพื่อส่งเสริมวัฒนธรรมอาหรับและสร้างความร่วมมือในภูมิภาคอาหรับ

เมืองหลวงทางวัฒนธรรมอาหรับ

[แก้]

เมืองหลวงทางวัฒนธรรมอาหรับในอดีต

[แก้]

เมืองหลวงทางวัฒนธรรมของอาหรับในขณะนี้

[แก้]

เมืองหลวงทางวัฒนธรรมของอาหรับในอนาคต

[แก้]

หมายเหตุ

[แก้]
i.   ^ รางวัลของเยรูซาเลมเป็นของ "ปาเลสไตน์"[21] แต่อิสราเอลควบคุมเยรูซาเลมทั้งหมด ซึ่งรวมไปถึงเยรูซาเลมตะวันออก (ยึดครองตอนสงครามหกวันใน ค.ศ. 1967 และเป็นส่วนหนึ่งของดินแดนที่อิสราเอลครอบครอง) และตั้งเป็นเมืองหลวงโดยฝ่ายเดียว และออกพระราชบัญญัติกฎหมายเยรูซาเลมเพื่อให้มีผลต่อการประณามการย้ายโดยคณะมนตรีความมั่นคงแห่งสหประชาชาติ เยรูซาเลมถูกตั้งเป็นเมืองหลวงของรัฐปาเลสไตน์ (อาหรับ: دولة فلسطين, อักษรโรมัน: Dawlat Filastin) โดยองค์การปลดปล่อยปาเลสไตน์ (PLO) ในปี ค.ศ. 1988 และอีกครั้งโดยสภานิติบัญญัติปาเลสไตน์ในพฤษภาคม ค.ศ. 2002[22] ปาเลสไตน์เป็นสมาชิกของสันนิบาตอาหรับ และจากนั้นอัมร์ มูซา เลขาธิการสันนิบาตอาหรับ ได้สนับสนุนรัฐมนตรีอาหรับที่ตัดสินใจให้เลือกเยรูซาเลมเป็นเมืองหลวงทางวัฒนธรรมของอาหรับในปี ค.ศ. 2009 สถานะสุดท้ายของเมืองยังคงต้องรอผลของการเจรจาระหว่างอิสราเอลกับปาเลสไตน์ (ดูข้อมูลเพิ่มเติมที่ "Negotiating Jerusalem", University of Maryland และ Positions on Jerusalem)

ดูเพิ่ม

[แก้]

อ้างอิง

[แก้]
  1. 1.0 1.1 Herbert, Ian; Nicole Leclercq; International Theatre Institute (2003). The World of Theatre: An Account of the World's Theatre Seasons 1999-2000, 2000-2001 and 2001-2002. Routledge. p. 225. ISBN 0-415-30621-3.
  2. alquds2009 เก็บถาวร 2011-07-25 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน
  3. "Human Civilizations and Cultures: from Dialogue to Alliance". ISESCO. 1 February 2006. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ December 13, 2010. สืบค้นเมื่อ 28 August 2009.
  4. Sayyid Hamid, Hurreiz (2002). Folklore and Folklife in the United Arab Emirates. Routledge. p. 63. ISBN 0-7007-1413-8.
  5. Peter Harrigan (July–August 2000). "Riyadh: Arab Cultural Capital 2000". คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2009-08-18. สืบค้นเมื่อ 2009-08-28.
  6. 6.0 6.1 "Para fomentar el debate democrático". UNESCO. สืบค้นเมื่อ 28 August 2009.
  7. Hada Sarhan (December 12, 2001). "Jordan braces for Amman Cultural Capital of the Arab World 2002". Jordan Embassy US (Original in Jordan Times). คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ March 1, 2012. สืบค้นเมื่อ 2009-08-29.
  8. "SANA'A as the Capital of Arabic Culture 2004". Yemen News Agency (SABA). September 3, 2003. สืบค้นเมื่อ 2020-06-24.
  9. Bernard Jacquot. "Khartoum, Arab Cultural Capital 2005". UNESCO. สืบค้นเมื่อ 2009-08-28.
  10. "สำเนาที่เก็บถาวร". คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2014-12-09. สืบค้นเมื่อ 2022-01-22.
  11. http://www.magharebia.com/cocoon/awi/xhtml1/en_GB/features/awi/reportage/2008/01/11/reportage-01
  12. "Damascus: The Arab cultural capital". Al Jazeera English. February 2, 2008. สืบค้นเมื่อ 2009-08-28.
  13. Capitals of Arab Culture - Jerusalem (2009) เก็บถาวร กรกฎาคม 25, 2011 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน
  14. Jerusalem: Capital of Arab Culture events jeopardized by occupation เก็บถาวร 2013-07-02 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน - Jerusalem was chosen in 2006
  15. TheNational - "Taking to the road to showcase Jerusalem"
  16. Hi-tech amphitheatre 'a beacon of culture' เก็บถาวร 2012-01-19 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน Gulf Daily News
  17. 17.0 17.1 "NCCAL chief lauds outcome of Arab culture ministers' meeting". Kuwait News Agency. 2012-11-13. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2016-03-03. สืบค้นเมื่อ 2015-12-14.
  18. "Luxor Capital of Arab Culture events well underway this July". Egypt Today. July 17, 2017.
  19. "Oujda Named Capital of Arab Culture for 2018". International Federation of Arts Councils and Culture Agencies. December 2, 2017.
  20. 20.0 20.1 20.2 20.3 20.4 "The project of Arab cultural capitals and cities: 22 years later, diagnosis and perspectives". Culture of Peace News Network. สืบค้นเมื่อ 25 May 2020.
  21. Under Occupation: Celebrations and Contradictions of al-Quds Capital of Arab Culture 2009 Jerusalem Quarterly, Summer 2009. "The celebration of al-Quds Jerusalem as the 2009 Capital of Arab Culture has been debated ever since the decision was made by the Ministers of Arab Culture in 2006 and accepted by Palestine."
  22. "Archived copy". คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2010-03-16. สืบค้นเมื่อ 2009-08-07.{{cite web}}: CS1 maint: archived copy as title (ลิงก์)

แหล่งข้อมูลอื่น

[แก้]