เดเอ็ฟเบ-โพคาล 2022 รอบชิงชนะเลิศ
รายการ | เดเอ็ฟเบ-โพคาล ฤดูกาล 2021–22 | ||||||
---|---|---|---|---|---|---|---|
| |||||||
หลัง ต่อเวลาพิเศษ แอร์เบ ไลพ์ซิช ชนะ ลูกโทษ 4–2 | |||||||
วันที่ | 21 พฤษภาคม ค.ศ. 2022 | ||||||
สนาม | โอลึมเพียชตาดิโยน, เบอร์ลิน | ||||||
ผู้เล่นยอดเยี่ยม ประจำนัด | นิโก ชล็อทเทอร์เบ็ค (เอ็สเซ ไฟรบวร์ค)[1] | ||||||
ผู้ตัดสิน | ซาสชา สเตเกอมันน์ (ไนเดอร์คัสเซิล)[2] | ||||||
ผู้ชม | 74,322 คน[3] | ||||||
การแข่งขัน เดเอ็ฟเบ-โพคาล 2022 รอบชิงชนะเลิศ เป็นการตัดสินหาผู้ชนะของ เดเอ็ฟเบ-โพคาล ฤดูกาล 2021–22, ฤดูกาลที่ 79 ของฟุตบอลถ้วยหลักของเยอรมนี. นัดนี้ลงเล่นไปเมื่อวันที่ 21 พฤษภาคม ค.ศ. 2022 ที่สนาม โอลึมเพียชตาดิโยน ใน เบอร์ลิน.[4][5]
แมตช์นี้เป็นการพบกันระหว่าง เอ็สเซ ไฟรบวร์ค และ แอร์เบ ไลพ์ซิช, โดยที่ทั้งสองฝ่ายยังไม่เคยชนะการแข่งขันมาก่อน.
แอร์เบ ไลพ์ซิช ชนะ ลูกโทษ 4–2, ในเวลา 90 นาที เสมอ 1–1 หลัง ต่อเวลาพิเศษ, สำหรับแชมป์ เดเอ็ฟเบ-โพคาลครั้งแรกของพวกเขา.[6] ในฐานะผู้ชนะเลิศ, พวกเขาจะได้เป็นเจ้าภาพ ครั้งในปี ค.ศ. 2022 ของ เดเอ็ฟเอ็ล-ซูเพอร์คัพ ที่ช่วงเริ่มต้นของฤดูกาลหน้า, และจะเผชิญหน้ากับทีมแชมเปียนของ ฉบับฤดูกาล 2021–22 ของ บุนเดิสลีกา, ไบเอิร์นมิวนิก. เนื่องจากไลป์ซิกได้เข้ารอบสำหรับ ฉบับฤดูกาล 2022–23 ของ ยูฟ่าแชมเปียนส์ลีก ผ่านอันดับของพวกเขาในบุนเดสลีกา, พื้นที่ ยูฟ่ายูโรปาลีก รอบแบ่งกลุ่ม ที่สงวนสิทธิ์ไว้สำหรับผู้ชนะบอลถ้วยจะตกไปยังทีมอันดับที่หก, และของลีกพื้นที่ ยูฟ่ายูโรปาคอนเฟอเรนซ์ลีก รอบเพลย์ออฟ จะไปสู่ทีมในอันดับที่เจ็ด.[7]
ทีม
[แก้]ในตารางด้านล่างนี้, คู่ชิงชนะเลิศนับตั้งแต่ปี ค.ศ. 1943 จะเป็นยุคทสชัมเมอร์โพคาล, ตั้งแต่ปี ค.ศ. 1953 จะเป็นยุค เดเอ็ฟเบ-โพคาล.
ทีม | จำนวนการลงสนามครั้งที่ผ่านมา (ตัวหนาหมายถึงทีมชนะเลิศ) |
---|---|
เอ็สเซ ไฟรบวร์ค | ไม่เคย |
แอร์เบ ไลพ์ซิช | 2 (2019), 2021) |
ภูมิหลัง
[แก้]ส่วนนี้รอเพิ่มเติมข้อมูล คุณสามารถช่วยเพิ่มข้อมูลส่วนนี้ได้ (February 2022) |
เส้นทางสู่รอบชิงชนะเลิศ
[แก้]เดเอ็ฟเบ-โพคาล เริ่มต้นกับ 64 ทีมในการแข่งขันรูปแบบถ้วยน็อคเอาต์ตกรอบเดียว. มีทั้งหมดห้ารอบนำหน้าก่อนถึงนัดชิงชนะเลิศ. แต่ละทีมถูกจับสลากพบกับทีมอื่น, และผู้ชนะหลังจบ 90 นาทีจะได้ผ่านเข้ารอบ. ถ้าเสมอกัน, 30 นาทีของ การต่อเวลาพิเศษ จะได้ลงเล่น. ถ้าผลการแข่งขันยังคงระดับอยู่, การดวลลูกโทษ จะเป็นวิธีที่นำมาใช้ในการตัดสินหาทีมชนะเลิศ.[8]
หมายเหตุ: ผลการแข่งขันด้านล่างนี้, ผลของทีมที่เข้าชิงชนะเลิศจะขึ้นเป็นตัวเลขแรก (H: เหย้า; A: เยือน).
เอ็สเซ ไฟรบวร์ค | รอบ | แอร์เบ ไลพ์ซิช | ||
---|---|---|---|---|
คู่แข่งขัน | ผล | เดเอ็ฟเบ-โพคาล ฤดูกาล 2021–22 | คู่แข่งขัน | ผล |
เวือทซ์บูร์เกอร์ คิคเกอร์ส | 1–0 (A) | รอบแรก | เอ็สเฟา ซานด์เฮาเซิน | 4–0 (A) |
เฟาเอ็ฟเอ็ล ออสนาบรืค | 2–2 (ต่อเวลา) (ดวลลูกโทษ 3–2) (A) |
รอบสอง | เอ็สเฟา บาเบิลสแบร์ค | 1–0 (A) |
1899 ฮ็อฟเฟินไฮม์ | 4–1 (A) | รอบ 16 ทีมสุดท้าย | ฮันซารอสต็อก | 2–0 (H) |
เฟาเอ็ฟเอ็ล โบคุม | 2–1 (ต่อเวลา) (A) |
รอบก่อนรองชนะเลิศ | ฮันโนเฟอร์ 96 | 4–0 (A) |
ฮัมบัวร์เกอร์ เอ็สเฟา | 3–1 (A) | รอบรองชนะเลิศ | อูนีโอนแบร์ลีน | 2–1 (H) |
แมตช์
[แก้]รายละเอียด
[แก้]เอ็สเซ ไฟรบวร์ค | 1–1 (ต่อเวลาพิเศษ) | แอร์เบ ไลพ์ซิช |
---|---|---|
เอ็กเกสไตน์ 19' | รายงาน | อึนคุนคู 76' |
ลูกโทษ | ||
2–4 |
เอ็สเซ ไฟรบวร์ค
|
แอร์เบ ไลพ์ซิช
|
ผู้เล่นยอดเยี่ยมประจำนัด:
ผู้ช่วยผู้ตัดสิน:[2]
|
|
ดูเพิ่ม
[แก้]หมายเหตุ
[แก้]- ↑ แต่ละทีมจะได้รับโอกาสเพียงสามครั้งในการเปลี่ยนตัวผู้เล่น, ด้วยโอกาสครั้งที่สี่ในช่วงต่อเวลาพิเศษ, นับรวมการเปลี่ยนตัวที่เกิดขึ้นในช่วงพักครึ่งแรก, ก่อนจะเริ่มของการต่อเวลาพิเศษและหมดครึ่งเวลาแรกในช่วงต่อเวลาพิเศษ.
อ้างอิง
[แก้]- ↑ 1.0 1.1 "SC Freiburg – RB Leipzig, Stimmen zum DFB-Pokalfinale: "Man darf den alten Trainer nicht schlecht machen"" [SC Freiburg – RB Leipzig, quotes on the DFB-Pokal Final: "You cannot badmouth the old coach".]. SPOX.com (ภาษาเยอรมัน). 22 May 2022. สืบค้นเมื่อ 22 May 2022.
Nico Schlotterbeck (SC Freiburg, vom DFB zum Spieler des Spiels gewählt) [Nico Schlotterbeck (SC Freiburg, voted player of the match by the DFB)]
- ↑ 2.0 2.1 2.2 2.3 2.4 "Stegemann leitet DFB-Pokalfinale in Berlin" [Stegemann leads DFB-Pokal final in Berlin]. DFB.de (ภาษาเยอรมัน). German Football Association. 3 May 2022. สืบค้นเมื่อ 3 May 2022.
- ↑ "DFB-Pokal, 2021/2022, Finale" [2021–22 DFB-Pokal, Final]. DFB.de (ภาษาเยอรมัน). German Football Association. 21 May 2022. สืบค้นเมื่อ 21 May 2022.
- ↑ "Alle DFB-Pokalsieger" [All DFB-Pokal winners]. DFB.de (ภาษาเยอรมัน). German Football Association. 21 May 2016. สืบค้นเมื่อ 6 June 2016.
- ↑ "DFB-Präsidium verabschiedet Rahmenterminkalender 2021/2022" [DFB executive committee passes framework schedule 2021–2022]. DFB.de (ภาษาเยอรมัน). German Football Association. 4 December 2020. สืบค้นเมื่อ 4 December 2020.
- ↑ "Freiburg versagen die Nerven vom Punkt: Leipzig gewinnt den DFB-Pokal". kicker.de. 21 May 2022. สืบค้นเมื่อ 21 May 2022.
- ↑ "Strategic talks in Dubrovnik". UEFA.org. Union of European Football Associations. 20 September 2013. สืบค้นเมื่อ 29 April 2015.
- ↑ "Modus" [Mode]. DFB.de (ภาษาเยอรมัน). German Football Association. 15 August 2012. สืบค้นเมื่อ 11 June 2015.
- ↑ "Spielordnung" [Match rules] (PDF). DFB.de (ภาษาเยอรมัน). German Football Association. sec. 46. สืบค้นเมื่อ 12 February 2022.
- ↑ "Durchführungsbestimmungen" [Implementation regulations] (PDF). DFB.de (ภาษาเยอรมัน). German Football Association. sec. 31. สืบค้นเมื่อ 12 February 2022.