ข้ามไปเนื้อหา

อินดอร์ สเตเดียม หัวหมาก

พิกัด: 13°45′27″N 100°37′24″E / 13.75750°N 100.62333°E / 13.75750; 100.62333
จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
อินดอร์ สเตเดียม หัวหมาก
แผนที่
ชื่อเดิมสนามกีฬากิตติขจร
ที่ตั้งศูนย์กีฬาหัวหมาก ถนนรามคำแหง แขวงหัวหมาก เขตบางกะปิ กรุงเทพมหานคร ประเทศไทย
พิกัด13°45′27″N 100°37′24″E / 13.75750°N 100.62333°E / 13.75750; 100.62333
เจ้าของการกีฬาแห่งประเทศไทย (กกท.)
ความจุ10,000 - 15,000 (ก่อนติดตั้งเก้าอี้)
6,000 (หลังจากติดตั้งเก้าอี้)[1]
ขนาดสนาม41 x 49.50 เมตร
การก่อสร้าง
เปิดใช้สนามพ.ศ. 2509; 58 ปีที่แล้ว (2509)
ปรับปรุงพ.ศ. 2554—2555
สถาปนิกบริษัทหลุยส์ เบอร์เจอร์
การใช้งาน
เอเชียนเกมส์ 1966
เอเชียนเกมส์ 1998
กีฬาแห่งชาติ 2543
อาเซ็มยูธเกมส์ ครั้งที่ 1
เอเชียนอินดอร์เกมส์ 2005
เอเชียนมาร์เชียลอาร์ตสเกมส์ 2009
กีฬามหาวิทยาลัยโลกฤดูร้อน 2007
ฟุตซอลชิงแชมป์โลก 2012
มิสแกรนด์อินเตอร์เนชันแนล 2014
มิสแกรนด์อินเตอร์เนชันแนล 2015
มิสแกรนด์ไทยแลนด์ 2015
มิสแกรนด์ไทยแลนด์ 2016
วอลเลย์บอลเวิลด์กรังด์ปรีซ์ 2013
วอลเลย์บอลเวิลด์กรังด์ปรีซ์ 2014
วอลเลย์บอลเวิลด์กรังด์ปรีซ์ 2015
วอลเลย์บอลเวิลด์กรังด์ปรีซ์ 2016 (รอบสุดท้าย)
อาเซียนฟุตซอลแชมเปียนชิพ 2016
ฟุตซอลชิงแชมป์เอเชีย 2024
วอลเลย์บอลหญิงเนชันส์ลีก 2024 (รอบสุดท้าย)

อินดอร์ สเตเดียม หัวหมาก (อังกฤษ: Indoor Stadium Huamark) เป็นสนามกีฬาในร่มภายในศูนย์กีฬาหัวหมาก โดยใช้เป็นสนามสำรอง สร้างขึ้นเพื่อใช้ในการแข่งขันกีฬาต่าง ๆ ในระดับนานาชาติ เช่น มวยสากล, บาสเก็ตบอล, ฟุตซอล และ วอลเลย์บอล และใช้เป็นสนามสำหรับการแข่งขันฟุตซอลชิงแชมป์โลก 2012 ที่กรุงเทพมหานครเป็นเจ้าภาพ รวมถึงใช้จัดคอนเสิร์ตอีกด้วย

ประวัติ

[แก้]

อินดอร์ สเตเดียม หัวหมาก เดิมมีชื่อว่า สนามกีฬากิตติขจร ตั้งตามนามสกุลของ จอมพลถนอม กิตติขจร นายกรัฐมนตรีในขณะนั้น สร้างขึ้นเพื่อรองรับการจัดการแข่งขันเอเชียนเกมส์ครั้งที่ 6 ที่ประเทศไทยเป็นเจ้าภาพ[2]

การออกแบบ

[แก้]

เดิมความสามารถในการรองรับผู้เข้าชมภายในอาคารได้จำนวน 10,000 - 15,000 คน แต่ปัจจุบันได้มีการปรับปรุงอาคาร ทำให้ความสามารถในการรองรับผู้เข้าชม (อัฒจันทร์) ได้จำนวน 6,000 ที่นั่ง เพื่อรองรับการจัดการแข่งขันฟุตซอลชิงแชมป์โลก 2012 พื้นที่ตรงกลางอาคาร มีขนาดเส้นผ่านศูนย์กลาง 41 เมตร x 49.50 เมตร มีลักษณะเป็นรูปวงรี ปูพื้นด้วยไม้ปาเก้ ภายในเป็นสนามบาสเกตบอล

เหตุการณ์สำคัญ

[แก้]

กีฬา

[แก้]

คอนเสิร์ต

[แก้]
  • 19 ตุลาคม พ.ศ. 2529 - ปึ๊กกกก.....เต๋อ โดย เต๋อ - เรวัต พุทธินันทน์
  • 21 พฤษภาคม พ.ศ. 2531 - เบื๊อก โดย อัสนี-วสันต์
  • 1 เมษายน พ.ศ. 2532 - ตามหาฟักทอง โดย อัสนี-วสันต์
  • 22 ธันวาคม พ.ศ. 2533 - ซิกัมซ้า โดย อัสนี-วสันต์
  • 27-28 เมษายน 2534 - คอนเสิร์ต พริกขี้หนู โดย เบิร์ด ธงไชย
  • 29 กันยายน พ.ศ. 2534 - พายุสายฟ้า ระลอกสอง (THUNDER STORM CONCERT version 2) โดย ทัช ณ ตะกั่วทุ่ง
  • 29 พฤษภาคม พ.ศ. 2536 - ช็อต ชาร์จ ช็อก ร็อก คอนเสิร์ต โดย ไฮ-ร็อก, หรั่ง ร็อคเคสตร้า, หิน เหล็ก ไฟ
  • 9 มกราคม พ.ศ. 2537 - คอนเสิร์ต 10 ปี แกรมมี่ โดย ศิลปินแกรมมี่
  • 14-15 พฤษภาคม พ.ศ. 2537 - ธ.ธง กับ ธ.เธอ (นั่นแหละ) โดย เบิร์ด - ธงไชย แมคอินไตย์
  • 28 พฤษภาคม พ.ศ. 2537 คอนเสิร์ตนอกเวลา อาร์ เอส อันปลั๊ก โดย ศิลปินค่ายอาร์เอส
  • 19 กุมภาพันธ์ 2538 คอนเสิร์ตขนนกกับดอกไม้ โดย เบิร์ด ธงไชย ใหม่ เจริญปุระ แอม เสาวลักษณ์ ศรันย่า มาช่า ศริสติน่า อากีล่าร์
  • 28 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2538 - Vitalogy Tour โดย เพิร์ลแจม
  • 27 มกราคม พ.ศ. 2539 - คอนเสิร์ต 10 ปี หนุ่ย อำพล โดย หนุ่ย อำพล
  • 17 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2539 - Super Teens Super Concert โดย ศิลปินค่ายอาร์เอส
  • 6 เมษายน พ.ศ. 2539 - Pepsi-Teenelegy Concert Waab-Z
  • 25 พฤษภาคม พ.ศ. 2539 - คอนเสิร์ตปิดทองหลังพระ โดย คาราบาว
  • 23-24 มกราคม 2542 - คอนเสิร์ต ธงไชย เซอร์วิส พิเศษ โดย เบิร์ด ธงไชย
  • 3 เมษายน พ.ศ. 2542 - PEPSI THE X-VENTURE CONCERT
  • 19 มิถุนายน พ.ศ. 2542 - คอนเสิร์ต เปิดเทอมซ่าส์ โดย ศิลปิน อาร์เอส
  • 7 สิงหาคม พ.ศ. 2542 - Internet Police Junior Concert โดยศิลปินอาร์เอส
  • 29 สิงหาคม พ.ศ. 2542 - WHITE SPY POWER CONCERT คอนเสิร์ตพลังสีขาว ต่อต้านยาเสพติด
  • 26 ธันวาคม พ.ศ. 2542 - Dunk Live in Concert โดย ดัง พันกร
  • 12 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2543 - RS.MEETING CONCERT TEENLENIUM รวมพลังสนุกยุคใหม่
  • 23 เมษายน พ.ศ. 2543 - ลงเอย พี่น้องร้องเพลง อัสนี - วสันต์ โดย อัสนี วสันต์, เสก โลโซ, โจ ก้อง, โต ซิลลี่ ฟูลส์, ปู แบล็คเฮด, หนุ่ย นันทกานต์, อุ๊ หฤทัย, แอม เสาวลักษณ์, ใหม่ เจริญปุระ, มาช่า วัฒนพานิช
  • 13 พฤษภาคม 2543 Dance Generation Party Concert โดย ศิลปินค่ายอาร์เอส
  • 30 กันยายน 2543 Power voice Power live Concert
  • 14 ตุลาคม 2543 Mission 4 Project Live Concert for Friend
  • 20 มกราคม พ.ศ. 2544 Concert Absolute Dunk โดย ดัง พันกร
  • 10 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2544 - The Celebration Concert โดย รวมศิลปินอาร์เอส
  • 3 มีนาคม 2544 OLE'OLE'JR CONCERT โดย เจอาร์ กิตติกุลวงศ์
  • 22 เมษายน พ.ศ. 2544 คอนเสิร์ต Earth Day วันคุ้มครองโลก โดย silly fools blackhead y not 7 fly loso
  • 14 กรกฎาคม พ.ศ. 2544 - GSM 2 WATTS ZODIAC CONCERT โดย รวมศิลปินอาร์เอส
  • 1 กันยายน พ.ศ. 2544 คอนเสิร์ต greet toom boom cheer. โดยศิลปินค่าย grammy
  • 17 พฤศจิกายน พ.ศ. 2544 The Great Duet Live Concert Dunk-Parn Two Seasons โดย ดัง พันกร และ ปาน ธนพร
  • 23 พฤศจิกายน พ.ศ. 2544 - Songs from the West Coast Tour โดย เอลตัน จอห์น
  • 12 ธันวาคม พ.ศ. 2544 - RS MEETING CONCERT STAR MISSION มันส์หลุดโลก โดย รวมศิลปินอาร์เอส
  • 4 พฤษภาคม พ.ศ. 2545 10 ปี มอส ไม่รัก...ก็บ้าแล้ว โดย มอส ปฏิภาณ
  • 18 พฤษภาคม พ.ศ. 2545 คอนเสิร์ต พี่น้อง ร้องเพลง อัศนี วสันต์ โดย อัสนี วสันต์ และศิลปินแกรมมี่
  • 13 กรกฎาคม พ.ศ. 2545 - D2B GOODTIME THANKS CONCERT FOR FRIENDS โดย ดีทูบี
  • 21 ธันวาคม พ.ศ. 2545 Fat Live V3 โดย silly fools
  • 28 มกราคม พ.ศ. 2546 Dunk Fire Live in Concert โดย ดัง พันกร
  • 18 พฤษภาคม พ.ศ. 2546 - D2B THE MIRACLE CONCERT โดยดีทูบี
  • 21 มิถุนายน พ.ศ. 2546 PCT MARATHON DANCE 2003 โดยศิลปินค่ายอาร์เอส
  • 28 มิถุนายน พ.ศ. 2546 Fat Live 4 : The Paradox Circus โดย paradox
  • 23 กรกฎาคม พ.ศ. 2547 - เวทีนี้ยังมีพี่เลี้ยง โดย อริสมันต์ พงศ์เรืองรอง (เดิมกำหนดจัด 24 กรกฎาคม[5])
  • 7 - 14 สิงหาคม 2547 คอนเสิร์ตประจำสัปดาห์ที่ 6 - 7 Academy Fantasia Season 1 โดยนักล่าฝันจาก ทรู อะคาเดมี่ แฟนเทเชีย ซีซั่นที่ 1
  • 21 สิงหาคม 2547 คอนเสิร์ตรอบชิงชนะเลิศ Academy Fantasia Season 1 Final Round สัปดาห์ที่ 9 โดยนักล่าฝันจาก ทรู อะคาเดมี่ แฟนเทเชีย ซีซั่นที่ 1
  • 2 ตุลาคม 2547 คอนเสิร์ต V-Reunite โดยนักล่าฝันจาก ทรู อะคาเดมี่ แฟนเทเชีย ซีซั่นที่ 1
  • 30 ตุลาคม พ.ศ. 2547 - เก็บตะวัน A Tribute to อิทธิ พลางกูร โดย อิทธิ พลางกูร
  • 21 พฤษภาคม พ.ศ. 2548 คอนเสิร์ต 10 ปี moderdog โดย moderdog
  • 11 มีนาคม พ.ศ. 2549 คอนเสิร์ต seed clash concert :frist clash โดย แคลช
  • 29 ตุลาคม พ.ศ. 2549 - SEEFA DEEP BLUE CONCERT
  • 15 กันยายน พ.ศ. 2550 คอนเสิร์ตสัปดาห์รอบการกุศล True Academy Fantasia Season 4 สัปดาห์ที่ 13 Theme The Best of True AF4 โดยนักล่าฝันจาก ทรู อะคาเดมี่ แฟนเทเชีย ซีซั่นที่ 4
  • 20 - 21 ตุลาคม พ.ศ. 2550 - Bodyslam Save My Life Concert โดย บอดี้สแลม
  • 11 พฤศจิกายน พ.ศ. 2550 คอนเสิร์ต เราจะเป็นคนดี โดย คาราบาว
  • 27 เมษายน พ.ศ. 2551 คอนเสิร์ตประกาศผล the star ค้นฟ้าคว้าดาวปี4 โดย เดอะสตาร์ปี4
  • 31 พฤษภาคม - 1 มิถุนายน พ.ศ. 2551 Da Endorphine Illusion Concert โดย da endorphine
  • 15 มิถุนายน พ.ศ. 2551 - มหกรรมคอนเสิร์ต ฟ้าสีคราม (จัดโดยกองทัพอากาศ และ ค่ายเพลงอาร์สยาม)
  • 19 กรกฎาคม พ.ศ. 2551 Silly Fools-Ebola One Way โดย silly fools และ ebola
  • 26 กรกฎาคม พ.ศ. 2551 - WE R ONE CONCERT PECK AOF ICE โดย เป๊ก ผลิตโชค, อ๊อฟ ปองศักดิ์ และไอซ์ ศรัณยู
  • 4 ตุลาคม พ.ศ. 2551 อีทีซี บริง อิท แบ๊ค คอนเสิร์ต ไลฟ์ แอท อินดอร์ สเตเดี้ยม โดยวง E. T. C.
  • 18 ตุลาคม พ.ศ. 2551 - GOLF MIKE GET READY CONCERT โดย กอล์ฟ-ไมค์
  • 28 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2552 - WONDER GIRLS LIVE IN BANGKOK 2009 โดย วันเดอร์เกิลส์
  • 21 มีนาคม พ.ศ. 2552 - Make Dreams Real
  • 4 เมษายน พ.ศ. 2552 clash army rock concert โดย แคลช
  • 3 พฤษภาคม พ.ศ. 2552 คอนเสิร์ตประกาศผล the star ค้นฟ้าคว้าดาว ปี5 โดย เดอะสตาร์ปี5
  • 27 มิถุนายน พ.ศ. 2552 potato the real live concert โดย potato
  • 14 พฤศจิกายน พ.ศ. 2552 นางสาว ดา เอ็นโดรฟิน ไลฟ์ อิน บางกอก (Da Endorphine live in Bangkok concert) โดย da endorphine
  • 6 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2553 2010 FT ISLAND ASIA TOUR LIVE IN BKK” โดย FT island
  • 27 มีนาคม พ.ศ. 2553 - Berryz Kobo First Live in Bangkok 2010
  • 2 พฤษภาคม พ.ศ. 2553 คอนเสิร์ตประกาศผล the star ค้นฟ้าคว้าดาว ปี6 โดย เดอะสตาร์ปี6
  • 5 มิถุนายน พ.ศ. 2553 - [V] The Richman Toy อ๊อดทะลุเป้า คอนเสิร์ตกลางแจ้ง แต่แสดงในร่ม โดย เดอะริชแมนทอย
  • 26 มิถุนายน พ.ศ. 2553 - KAMIKAZE WAVE CONCERT LIVE IN BANGKOK 2010 โดย กลุ่มศิลปินจากกามิกาเซ่
  • 7 สิงหาคม พ.ศ. 2553 - โอทู วัน คอนเสิร์ต โดย พาราด็อกซ์, เคลียร์, อินสติงต์, โนมอร์เทียร์, สวีตมัลเล็ต, เรโทรส, กะลา, บอดี้สแลม
  • 22 สิงหาคม พ.ศ. 2553 - Krungsri The First 3D Concert - Victory of The Winners โดยสุดยอดนักล่าฝันจาก ทรู อะคาเดมี่ แฟนเทเชีย ซีซั่นที่ 1 - 6 และ ศิลปินจาก ทรู แฟนเทเชีย
  • 25 กันยายน พ.ศ. 2553 - Aucifer 10th Anniversary Live In Bangkok 2010
  • 18 สิงหาคม พ.ศ. 2555 - คอนเสิร์ต x2 ลูกทุ่งซุปเปอร์คอนเสิร์ต [6]
  • 31 มีนาคม พ.ศ. 2556 - คอนเสิร์ตพงษ์สิทธิ์ คำภีร์ 25 ปี (มีหวัง) โดย ปู - พงษ์สิทธิ์ คำภีร์
  • 5 ตุลาคม พ.ศ. 2556 - บรรลุนิติภาวะ 21 ปี ป้าง นครินทร์ กิ่งศักดิ์ โดย ป้าง - นครินทร์ กิ่งศักดิ์
  • 6 สิงหาคม พ.ศ. 2559 - 2016 BTS LIVE <花樣年華 on stage : epilogue> in Bangkok โดย บีทีเอส
  • 18 มีนาคม พ.ศ. 2560 - 2017 KIM JAE JOONG ASIA TOUR in BANGKOK 'The REBIRTH of J' แจจุง
  • 13 พฤษภาคม พ.ศ. 2560 - 2017 LABANOON CONCERT เปิดกล่อง โดย วงลาบานูน
  • 14 กรกฎาคม พ.ศ. 2561 คอนเสิร์ตเพื่อการกุศลงาน “Road to Race Consert โดย โป่ง หินเหล็กไฟ, กบ แท็กซี่, ดา อินคา, อี๊ด วงฟลาย, แมว จิรศักดิ์ ปานพุ่ม และ ก้อง ห้วยไร่
  • 9 กันยายน พ.ศ. 2566 HWANG MIN HYUN MINI CONCERT <UNVEIL> IN BANGKOK โดย ฮวัง มินฮยอน

รายการโทรทัศน์

[แก้]

การประกวด

[แก้]

การเลือกตั้ง

[แก้]

อื่น ๆ

[แก้]

อ้างอิง

[แก้]
  1. "อินดอร์ สเตเดียม หัวหมาก ปรับโฉมใหม่รับศึกฟุตซอลชิงแชมป์โลก". สยามสปอร์ต.
  2. @ เกร็ดเล็ก เกร็ดน้อย ชื่อเดิมมหาวิทยาลัย
  3. "เนรมิตอินดอร์ฯจัดศึก 'อำนาจ-คาซิเมโร'". ไทยรัฐ.
  4. ประเทศไทย ได้เป็นเจ้าภาพฟุตซอลชิงแชมป์เอเชีย 2024 รอบสุดท้าย
  5. อริสมันต์ พงศ์เรืองรอง เก็บถาวร 2014-08-06 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน เอ็มไทยดอตคอม
  6. อินดอร์ สเตเดี้ยม จากไทยทิคเกตมาสเตอร์

แหล่งข้อมูลอื่น

[แก้]

วิกิมีเดียคอมมอนส์มีสื่อเกี่ยวกับ อินดอร์ สเตเดียม หัวหมาก