อาหารอิหร่าน
บทความนี้อาจต้องการตรวจสอบต้นฉบับ ในด้านไวยากรณ์ รูปแบบการเขียน การเรียบเรียง คุณภาพ หรือการสะกด คุณสามารถช่วยพัฒนาบทความได้ |
บทความนี้ต้องการการจัดหน้า จัดหมวดหมู่ ใส่ลิงก์ภายใน หรือเก็บกวาดเนื้อหา ให้มีคุณภาพดีขึ้น คุณสามารถปรับปรุงแก้ไขบทความนี้ได้ และนำป้ายออก พิจารณาใช้ป้ายข้อความอื่นเพื่อชี้ชัดข้อบกพร่อง |
Sholeh Zard: พุดดิ้งข้าวหญ้าฝรั่นจากอิหร่าน
[แก้]Sholeh zard (شله زرد) เป็นพุดดิ้งข้าวสีเหลืองหอมหวาน ซึ่งเป็นอาหารพื้นเมืองของอิหร่าน ประกอบด้วยหญ้าฝรั่น น้ำตาล น้ำกุหลาบ เนย อบเชย และกระวาน นิยมทำและจำหน่ายในปริมาณมากในพิธีกรรมทางศาสนา งานเฉลิมฉลอง และงานศพ
ส่วนผสม:
- ข้าวบาสมาติ 1 ถ้วย
- น้ำ 4 ถ้วย
- หญ้าฝรั่น 1 ช้อนชา
- น้ำตาล 1 ถ้วย
- น้ำกุหลาบ 2 ช้อนโต๊ะ
- เนย 2 ช้อนโต๊ะ
- อบเชย 1 แท่ง
- กระวาน 3 เมล็ด
วิธีทำ:
- แช่หญ้าฝรั่นในน้ำร้อน 1/4 ถ้วย พักไว้ 30 นาที
- ล้างข้าว เทน้ำออก ใส่ข้าวลงในหม้อ
- เติมน้ำ 4 ถ้วย ต้มจนเดือด ลดไฟลง เคี่ยวประมาณ 20 นาที หรือจนข้าวสุก
- ละลายน้ำตาลกับน้ำร้อน 1/4 ถ้วย เทลงในหม้อ คนจนน้ำตาลละลาย
- ใส่เนย อบเชย กระวาน และน้ำกุหลาบ คนให้เข้ากัน
- เคี่ยวต่ออีก 15 นาที หรือจนพุดดิ้งข้น
- เท Sholeh zard ลงในภาชนะ โรยหน้าด้วยหญ้าฝรั่น อบเชย และพิสตาชิโอสับ
หมายเหตุ:
- Sholeh zard สามารถเก็บในตู้เย็นได้นานถึง 1 สัปดาห์
- สูตรนี้สามารถปรับความหวานและปริมาณหญ้าฝรั่นได้ตามชอบ
Sholeh zard เป็นอาหารหวานที่อร่อย ทำง่าย และเหมาะสำหรับทุกโอกาส[1]
ประวัติ
[แก้]ในตำนานเรื่องเล่าของอิหร่านมีการกล่าวกันว่า สไตล์และการปรุงอาหารของอิหร่านได้เริ่มขึ้นในรัชสมัยของกษัตริย์ ฎอฮาก (Zahhak) ก่อนหน้านั้นปิศาจ (demon) มีความคุ้นเคยกับศิลปะนี้ โดยสามารถปรุงอาหารที่อร่อยได้หลากหลายรสชาติ ไม่ว่าจะเป็นซุปต่างๆ ขนมต่างๆ จากงานเขียนในยุคสมัยพะลาวีย์ในหนังสือ คุซรู วา รีดค์ ได้อธิบายถึงอาหารและวิธีการปรุงอาหารในยุคสมัยของจักรวรรดิแซสซานิดเอาไว้ ซึ่งเป็นตัวบ่งบอกถึงประวัติความเป็นมาของการประกอบอาหารในอิหร่านได้เป็นอย่างดี ชื่อของอาหารอิหร่าน (เปอร์เซีย) จำนวนมากถูกใช้เรียกจนติดปากในภาษาอาหรับ ซึ่งสามารถพบเจอได้ในตำราอาหารภาษาอาหรับ ในภาษาอาหรับมีหนังสือมากมายที่ถูกเขียนขึ้นเกี่ยวกับการประกอบอาหาร ซึ่งต่างมีความเกี่ยวเนื่องกับการประกอบอาหารของชาวอิหร่านอยู่ด้วย ไม่ว่าจะเป็นชื่อที่ใช้เรียก หรือคำต่างๆ ของทั้งสองชาติที่มีความคล้ายคลึงกัน สิ่งเหล่านั้นอาจเนื่องมาจากที่คนอิหร่านจำนวนมากในยุครัชสมัยแห่งคะลีฟะฮ์อับบาซีย์ได้เข้ามาช่วยบริหารกิจการบ้านเมือง และได้นำเอาวิถีชีวิตของพวกเขา (อาหารการกิน) มาเผยแพร่ในสังคมอาหรับ ตัวอย่างที่เด่นชัดคือ วิธีการประกอบอาหารอิหร่านในช่วงสมัยอับบาซีย์ที่ได้รับความสนใจอย่างมากมายนั่นเอง ในฉบับภาษาเปอร์เซีย มีหนังสือเกี่ยวกับการประกอบอาหารโดยเฉพาะอยู่ 4 เล่ม ดังนี้
- กอรนอเมะ ดาร บาเบ ตะบอคีย์ วะ ศันอัตเตออน โดย ฮัจญีย์ มุฮัมหมัด อะลี บุลูรจีย์ บักดาดี ในรัชสมัย ชาฮ์ อิสมาอีล
- มาดดะตุลหะยาต โดย นูรุลลอฮ์ ออชพัซ ในรัชสมัย ชาฮ์ อับบาส
- นุสเคะฮ์ ชาฮ์ ยะฮานีย์ หนังสือเล่มนี้ได้ถูกเขียนขึ้นในรัชสมัยกษัตริย์ ชาฮ์ ยะฮานี (๑๐๖๘ - ๑๐๒๘) บรมกษัตริย์แห่งมงโกล
- กอรเนเมะฮ์ โดย นอเดร มีรซา ผู้เขียนหนังสือ ตอรีค ตับรีซ ในรัชสมัยกาจาร [2]
ความหลากหลายของอาหารอิหร่าน
[แก้]อาหารทั้งหลายจะถูกแบ่งเป็นประเภทต่างๆ โดยขึ้นอยู่กับคุณสมบัติและเอกลักษณ์เฉพาะ เช่น ประเภทของอาหาร วิธีการผลิตและการปรุงแต่ง ความหลากหลายของวัตถุดิบที่ใช้ในการผลิต หรือแม้กระทั่งความแตกต่างทางภูมิศาสตร์ สิ่งเหล่านี้คือตัวแสดงถึงอัตลักษณ์และประเภทอาหารที่ทำให้เป็นที่รู้จักได้เป็นอย่างดี หนึ่งในอาหารที่ขึ้นชื่อที่สุดของอิหร่านคือ ออบกุช (Abgoosht) กุรเมะฮ์ ซับซีย์ (Ghormeh sabzi) และเคบาบอิหร่าน
อาหารอิหร่านกับเทคนิคการทำอาหารอื่น ๆ
[แก้]การประกอบอาหารของอิหร่านมีวิธีการที่คล้ายคลึงกับของประเทศเพื่อนบ้าน เช่น อัฟกานิสถาน ทาจิกิสถาน อาเซอร์ไบจาน อาร์เมเนีย อิรัก และตุรกี
อาหารเช้าของชาวอิหร่าน
[แก้]อาหารเช้า ถือเป็นอาหารหลักของวัฒนธรรมอิหร่าน อะดะซีย์ หะลีม และกัลเละพอเชะฮ์ คืออาหารมื้อเช้าที่เฉพาะและมีความสำคัญเป็นที่สุด ซึ่งมีผู้คนให้ความสนใจในการเลือกรับประทานเป็นจำนวนมาก โดยเฉพาะวันหยุด ชาวอิหร่านจะเลือกอาหารประเภทนี้มารับประทานกัน โดยประกอบจากวัตถุดิบ เช่น ธัญพืช (ข้าวสาลี) ถั่ว สัตว์เนื้อขาว (White meat) (มีในฮะลีม โดยส่วนมากจะใช้เนื้อไก่งวง) และน้ำมันพืช โดยส่วนมากฮะลีมจะรับประทานในช่วงหน้าหนาว
รายการอาหารอิหร่าน
[แก้]ชื่อเปอร์เซีย | ชื่ออังกฤษ | ชนิดอาหาร | ส่วนผสม | รูปภาพ | فارسی | نام انگلیسی | نوع | ترکیبات | تصویر |
---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|
ออช | Āsh | รับประทานพร้อมอาหารหลัก | น้ำเปล่า, ผักชนิดต่างๆ, ถั่ว |
อิชกะเนะฮ์ |
Eshkenh | غذا | تخممرغ نان پیاز، آب، ادویه |
||
บอกะลอ โพโล | Baghla Polo | อาหารหลัก | บอกอลอ, ข้าว, ผัก, เนื้อ | เบรยอน |
Beryani | غذا | گوشت، روغن نعنا، گردو |
||
ตุรชีย์ | Torshi | เครื่องเคียง | ผลไม้ และผักชนิดต่างๆ, น้ำสมสายชู, น้ำเปล่า |
ฮัลวอ | Halva | دسر | آب، آرد، شکر هل، گلاب |
||
คอกีเนะฮ์ |
Khagine | อาหารว่าง | ไข่ไก่, มินล์, ขมิ้น |
คุเร็ช | Khoresh | غذا | لپه، گوشت آب سیبزمینی |
||
ซัมบูเซะฮ์ | Sambose | อาหารหลัก | แป้งขนมปัง, เนื้อ, ผัก, ถั่ว |
ชัรบัต | Sharbat | نوشیدنی | آب، شکر طعم دهنده |
||
ชุเละฮ์ ซารด์ |
Shole Zard | อาหารว่าง | น้ำเปล่า, ข้าว, เชฟร่อน, เครื่องเทศ |
ออบโกชต์ | AbGosht | غذا | آب، گوشت سبزیجات حبوبات |
||
ชีร เบเรนจ์ | ShirBerenj | เครื่องเคียง | นม, น้ำตาลทราย, ข้าว, น้ำสกัดผลไม้ |
ชีรีน โพโล |
Shirin Polo | غذا | برنج، پرتغال زعفران، فلفل سیاه |
||
อะดัส โพโล | Adas Polo | อาหารหลัก | ถั่ว, เครื่องเทศ, ข้าว, ผัก |
ฮะลีม | Halim | میانوعده | گندم، جو عدس، گوشت |
||
ฟิรนีย์ | Kheer | อาหารหลัก | แป้ง, ข้าวสาลี, นม, น้ำตาล, เชฟร่อน |
อะดะสีย์ | Adasi | غذا | عدس، پیاز، نعنا آرد، ادویهجات | ||
กอฉีย์ | Kachi | ขนม | แป้ง, น้ำตาล, น้ำมันกุหลาบ, เชฟร่อน |
เคบาบ | Kabab | غذا | کباب، ادویهجات خمیرنان |
||
กัลเละฮ์ พอเชะฮ์ | KalePache | อาหารหลัก | หัวแพะ, น้ำมัน, น้ำเปล่า, เครื่องเทศ |
กุลุเชะฮ์ | Koloche | میانوعده | آرد گندم شکر، روغن |
||
กูฟเตะฮ์ | Kofteh | อาหารหลัก | ผัก, เนื้อ, น้ำเปล่า, ข้าว |
ออลบอลู โพโล | Albalo Polo | غذا | آلبالو، برنج آب، سبزیجات | ||
โดลเมะฮ์ | Dolme | อาหารหลัก | เนื้อ, ผัก, ใบอ่อนองุ่น, มันฝรั่ง |
ดัมโพคเต๊ก | Dampokhtak | غذا | برنج، رب، پیاز روغن، فلفل |
||
ริชเตะฮ์ โพโล | Reshte Polo | อาหารหลัก | เนื้อ, หอมใหญ่, ลูกเกด,
อินทผาลัม |
โก้โก้ | KoKo | غذا | سبزیجات، تخممرغ آرد، سیبزمینی |
||
เซริชก์ โพโล | Zershk Polo | อาหารหลัก | ไก่, เนื้อ, ข้าว, ซอสมะเขือเทศ, เครื่องเทศ |
สับซีย์ โพโล | Sabzi Polo | غذا | برنج، سبزیجات زعفران، ماهی |
||
กุตเลต | Kotlet | อาหารหลัก | เนื้อ, มันฝรั่ง, หอมใหญ่, ไข่ไก่ |
กะลัม โพโล | Kalam Polo | غذا | کلم، برنج، سبزیجات | ||
กัลเละฮ์ ยุช | KalJosh | อาหารหลัก | หอมใหญ่, นมเปรี้ยว, ขมิ้น, น้ำมันถั่ววอลนัต |
ลูบยอ โพโล | Loobiya Polo | غذا | برنج، لوبیا سبز، گوشت | ||
มีรซา กอซิมีย์ |
Mirza Ghassemi | อาหารหลัก | มะเขือเทศ, เครื่องเทศ, ไข่ไก่, ผัก |
โนโคด โพโล | Nokhod Polo | غذا | نخود، برنج حبوبات، سبزیجات | ||
ยะตีมเฉะฮ์ | Yatimche | อาหารหลัก | มะเขือยาว, มะเขือเทศ, มันฝรั่ง, หอมใหญ่ |
ตัรคีนะฮ์ | Khagina | غذا | گندم، دوغ سبزی، حبوبات |
||
ตะฮ์ ชีน | Tachin | อาหารหลัก | เคบาบ จันเยะฮ์ |
Kabab Chenje | غذا | ||||
ฟิซินยาน | Fesenjan | อาหารหลัก | ชิชลีก | ShishLik | غذا | ||||
กุรเมะฮ์ ซับซีย์ |
Ghorme Sabzi | อาหารหลัก |
-
نمونهای از خوراک ایرانی در یک چلوکبابی
-
آشپزی ایرانی، خوراک لوبیا
-
برنج پلو با قیمه یک غذای ایرانی
-
دسرهای قبل و بعد از غذا
-
خوراک عدس با برنج با تزئین ایرانی
-
آشپزی ایرانی، خوراک میگو
-
خوراک دلمه، یک غذای ایرانی
-
ماهی کبابی
-
قرمه سبزی
-
آش جو با تزئینات
ดูเพิ่ม
[แก้]- การทำอาหารของชาว อาเซอร์ไบจาน
- การทำอาหารของชาว กีลาน
- โรซ่า มุนตะซัมมีย์ (Roza Montazemi)
แหล่งที่มา
[แก้]- Iraj afshar น ทำอาหารอยู่ใน Safavid ประจำเดือน แม่แบบ:یادکرد کتاب
อ้างอิง
[แก้]- ↑ Nicknezhad, Samira; Hashemabadi, Davood; Allahyari, Mohammad Sadegh; Marzban, Soroush; Ben Hassen, Tarek; Surujlal, Jhalukpreya (2023-06-01). "Sensorial analysis of factors influencing consumers' perceptions toward the consumption of edible flowers in Iran". Journal of Agriculture and Food Research. 12: 100580. doi:10.1016/j.jafr.2023.100580. ISSN 2666-1543.
- ↑ แม่แบบ:پک