ข้ามไปเนื้อหา

อังคุตตรนิกาย

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี

คัมภีร์หลักในพระพุทธศาสนา
พระไตรปิฎกเถรวาท
๔๕ เล่ม

    พระวินัยปิฎก    
   
                                       
คัมภีร์
สุตตวิภังค์
คัมภีร์
ขันธกะ
คัมภีร์
ปริวาร
               
   
    พระสุตตันตปิฎก    
   
                                                      
คัมภีร์
ทีฆนิกาย
คัมภีร์
มัชฌิมนิกาย
คัมภีร์
สังยุตตนิกาย
                     
   
   
                                                                     
คัมภีร์
อังคุตตรนิกาย
คัมภีร์
ขุททกนิกาย
                           
   
    พระอภิธรรมปิฎก    
   
                                                           
สงฺ วิภงฺ ธา
ปุ.
กถา ยมก ปัฏฐานปกรณ์
                       
   
         

อังคุตตรนิกาย ("หมวดคำสอนรวบรวมจัดลำดับเข้าด้วยกัน") เป็นชุมนุมพระสูตร[ก]ลำดับสี่จากห้าหมวดของพระสุตตันตปิฎก นิกายนี้ประกอบด้วยธรรมะหลายพันสูตรของพระสัมมาสัมพุทธเจ้าและพระอัครสาวก โดยจัดเป็น "นิบาต" สิบเอ็ดหมวดตามแต่ละพระสูตรที่มีหัวข้อธรรม

อังคุตตรนิกายสอดคล้องกับเอโกตระอกามา (หมายถึง "เพิ่มขึ้นทีละพระสูตร") ที่พบในพระไตรปิฎกของวิทยาลัยพุทธศาสนาสันสกฤตยุคแรกหลายแห่ง ซึ่งยังปรากฎอยู่ในภาษาสันสกฤต ในฉบับสมบูรณ์ปรากฎในการแปลเป็นฉบับภาษาจีนในนามว่า เจิงยี่อาหันจิง (增一阿含經) เชื่อกันว่ามาจากพระสูตรของนิกายมหาสังฆิกะหรือสรวาสติวาท ตามข้อมูลของเควท์ เชื่อว่า "มีความแตกต่างกันอย่างมากระหว่างฉบับภาษาบาลีและฉบับของนิกายสรวาสติวาท โดยมากกว่าสองในสามของพระสูตรพบในการรวบรวมฉบับเดียว แต่ไม่พบฉบับอื่น ซึ่งแสดงว่าส่วนใหญ่ของพระสูตรนี้ไม่ได้ถูกระบุในพระไตรปิฎกจนกระทั่งเวลาล่วงเลยไป"[1]

หมายเหตุ[แก้]

  1. ในพระสูตรของพระสุตตันตปิฎกเรียกว่า นิกาย ซึ่งหมายความว่าหมู่ของพระสูตรหรือชุมนุมพระสูตร

อ้างอิง[แก้]

  1. A Dictionary of Buddhism, by Damien Keown, Oxford University Press: 2004