ข้ามไปเนื้อหา

มัชฌิมนิกาย

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี

คัมภีร์หลักในพระพุทธศาสนา
พระไตรปิฎกเถรวาท
๔๕ เล่ม

    พระวินัยปิฎก    
   
                                       
คัมภีร์
สุตตวิภังค์
คัมภีร์
ขันธกะ
คัมภีร์
ปริวาร
               
   
    พระสุตตันตปิฎก    
   
                                                      
คัมภีร์
ทีฆนิกาย
คัมภีร์
มัชฌิมนิกาย
คัมภีร์
สังยุตตนิกาย
                     
   
   
                                                                     
คัมภีร์
อังคุตตรนิกาย
คัมภีร์
ขุททกนิกาย
                           
   
    พระอภิธรรมปิฎก    
   
                                                           
สงฺ วิภงฺ ธา
ปุ.
กถา ยมก ปัฏฐานปกรณ์
                       
   
         

มัชฌิมนิกาย ("หมวดคำสอนรวบรวมมีขนาดปานกลาง") เป็นชุมนุมพระสูตร[]ลำดับสองจากห้าหมวดในพระสุตตันตปิฎก ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของพระไตรปิฎก (แปลว่า "ตะกร้าสามใบ") อันเป็นคัมภีร์รวบรวมพระธรรมนิกายเถรวาท คาดการณ์ว่าสังคยนาคัมภีร์ในระหว่างศตวรรษที่ 3 ก่อนคริสตศักราช ถึงคริสตศตวรรษที่ 2[1] นิกายนี้ประกอบด้วยพระสูตร 152 บท เป็นสูตรของพระสัมมาสัมพุทธเจ้าและพระสาวกของพระองค์[2]

มัชฌิมนิกายสอดคล้องกับมัทยามะอกามา พบในพระสูตรของวิทยาลัยพระพุทธศาสนาสันสกฤตในช่วงต้นหลายแห่ง ซึ่งสามารถรวบรวมบางส่วนในทางภาษาสันสกฤต และแปลภาษาเป็นภาษาทิเบต พระสูตรแปลภาษาจีนฉบับสมบูรณ์โดยนิกายสรวาสติวาทปรากฏในหลักธรรมพระพุทธศาสนาจีน, รู้จักกันในนามว่า จ่งอาหันจิง (中阿含經) มัทยามะอกามาประกอบด้วยพระสูตร 222 สูตร, ต่างกับพระสูตร 152 สูตรของพระสูตรบาลีมัชฌิมนิกาย[3]

หมายเหตุ

[แก้]
  1. ในพระสูตรของพระสุตตันตปิฎกเรียกว่า นิกาย ซึ่งหมายความว่าหมู่ของพระสูตรหรือชุมนุมพระสูตร

อ้างอิง

[แก้]
  1. Singh, Upinder. A History of Ancient and Early Medieval India: From the Stone Age to the 12th Century. Pearson. p. 25.
  2. A version of the Pali original is available in Gotama, Buddha (2012). Majjhima Nikaya: The Middle Length Discourses of the Buddha. CreateSpace Independent Publishing Platform. ISBN 978-1478369622.
  3. A Dictionary of Buddhism, by Damien Keown, Oxford University Press: 2004