ข้ามไปเนื้อหา

ขุททกนิกาย

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี

คัมภีร์หลักในพระพุทธศาสนา
พระไตรปิฎกเถรวาท
๔๕ เล่ม

    พระวินัยปิฎก    
   
                                       
คัมภีร์
สุตตวิภังค์
คัมภีร์
ขันธกะ
คัมภีร์
ปริวาร
               
   
    พระสุตตันตปิฎก    
   
                                                      
คัมภีร์
ทีฆนิกาย
คัมภีร์
มัชฌิมนิกาย
คัมภีร์
สังยุตตนิกาย
                     
   
   
                                                                     
คัมภีร์
อังคุตตรนิกาย
คัมภีร์
ขุททกนิกาย
                           
   
    พระอภิธรรมปิฎก    
   
                                                           
สงฺ วิภงฺ ธา
ปุ.
กถา ยมก ปัฏฐานปกรณ์
                       
   
         

ขุททกนิกาย ("หมวดคำสอนรวบรวมจำนวนน้อย") เป็นชุมนุมพระสูตร[ก]ลำดับที่ท้ายสุดจากห้าหมวดของพระสุตตันตปิฎก ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของพระไตรปิฎก (แปลว่า "ตะกร้าสามใบ") อันเป็นคัมภีร์ซึ่งรวบรวมพระธรรมของพุทธศาสนาเถรวาท นิกายนี้ประกอบด้วยคัมภีร์สิบห้าเล่ม (ฉบับประเทศไทย) สิบห้าเล่ม (ฉบับประเทศศรีลังกาตามพระพุทธโฆสสะเรียงไว้) หรือคัมภีร์สิบแปดเล่ม (ฉบับประเทศพม่า) เป็นธรรมะของพระสัมมาสัมพุทธเจ้าและพระอัครสาวกของพระองค์

คำว่า ขุทกะ ในที่นี้หมายถึง "เล็ก" ในภาษาบาลี และสำหรับชุมนุมพระสูตรนี้หมายความว่า "รวบรวมสะสม" พระสูตรเทียบเท่าพุทธศาสนาจีนและทิเบตมีนามว่า ขุทกะอกามา แต่มีความแตกต่างอย่างชัดเจนในพระสูตรต่าง ๆ[1]

หมายเหตุ[แก้]

  1. ในพระสูตรของพระสุตตันตปิฎกเรียกว่า นิกาย ซึ่งหมายความว่าหมู่ของพระสูตรหรือชุมนุมพระสูตร

อ้างอิง[แก้]

  1. Andrew Skilton (2004). A Concise History of Buddhism. Windhorse Publications. p. 82. ISBN 0-904766-92-6.