อามาเตราซุ
อามาเตราซุ | |
---|---|
เทพีแห่งดวงอาทิตย์และเอกภพ; บรรพบุรุษในตำนานของราชวงศ์ญี่ปุ่น | |
อามาเตราซุโผล่ออกจากถ้ำอามะ-โนะ-อิวาโตะซึ่งพระองค์เข้าไปหลบซ่อน (รายละเอียดจากภาพพิมพ์แกะไม้ที่พิมพ์โดยคูนิซาดะ) | |
ชื่ออื่น | อามาเตราซุ-โอมิกามิ (天照大御神, 天照大神) อามาเตราซุ-โอกามิ (天照大神) อามาเตราซุ-ซูเมะ(ระ)-โอมิกามิ (天照皇大神) อามาเตราชิมาซุ-ซูเมะ(ระ)-โอมิกามิ (天照坐皇大御神) อามาเตราซุ-โอฮิรูเมะ-โนะ-มิโกโตะ (天照大日孁尊) โอฮิรูเมะ-โนะ-มูจิ-โนะ-กามิ (大日孁貴神) โอฮิรูเมะ-โนะ-มิโกโตะ(大日孁尊) ฮิ-โนะ-กามิ (日神) สึกิซากากิ-อิตสึ-โนะ-มิตามะ-อามาซาการุ-มุกัตสึฮิเมะ-โนะ-มิโกโตะ (撞賢木厳之御魂天疎向津媛命) เท็นโชโคไตจิง (天照皇大神) เท็นโชไดจิง (天照大神) |
ศูนย์กลางของลัทธิ | ศาลเจ้าอิเซะ, ศาลเจ้าฮิโนกูมะ, ศาลเจ้าอามาโนอิวาโตะ, ศาลเจ้าฮิโรตะ และอื่น ๆ |
ดาวพระเคราะห์ | ดวงอาทิตย์ |
คัมภีร์ | โคจิกิ, นิฮนโชกิ, เซ็งไดคูจิฮงงิ |
ข้อมูลส่วนบุคคล | |
คู่ครอง | ไม่มี |
บุตร - ธิดา | อาเมะ-โนะ-โอชิโฮมิมิ, อาเมะ-โนะ-โฮฮิ, อามัตสึฮิโกะเนะ, อิกุตสึฮิโกเนะ, คูมาโนกูซูบิ |
บิดา-มารดา | อิซานางิ (โคจิกิ) อิซานางิและอิซานามิ (นิฮนโชกิ) |
พี่น้อง | สึกูโยมิ-โนะ-มิโกโตะ, ซูซาโนโอะ-โนะ-มิโกโตะ และอื่น ๆ |
อามาเตราซุ (ญี่ปุ่น: 天照; โรมาจิ: Amaterasu), อามาเตราซุ-โอมิกามิ (ญี่ปุ่น: 天照大神 / 天照大御神; โรมาจิ: Amaterasu-ōmikami) หรือ โอฮิรูเมโนมูจิโนกามิ (ญี่ปุ่น: 大日孁貴神; โรมาจิ: Ōhiru-menomuchi-no-kami) เป็นเทพีแห่งดวงอาทิตย์ตามความเชื่อของศาสนาชินโต มีตำนานที่เกี่ยวข้องกับเทพีองค์นี้มากมาย ซึ่งเป็นรากฐานของพิธีกรรมสำคัญต่าง ๆ เรื่องที่สำคัญคือการที่อามาเตราซุหลบหนีซูซาโนโอะ
พระนาม
[แก้]ในโคจิกิ มีการเรียกเทพีนี้ด้วยพระนาม 'อามาเตราซุ-โอมิกามิ' (
- โอฮิรูเมะ-โนะ-มูจิ (
大日孁貴 ; มังโยงานะ: 於保比屢咩能武智; รูปเขียนในอดีต: おほひるめのむち, Ohohirume-no-Muchi; ญี่ปุ่นเก่า: Opopi1rume1-no2-Muti)[1][2] - อามาเตราซุ โอ(มิ)กามิ (天照大神; รูปเขียนในอดีต: あまてらすおほ(み)かみ, Amaterasu Oho(mi)kami)[1][2]
- อามาเตราซุ-โอฮิรูเมะ-โนะ-มิโกโตะ (天照大日孁尊)[1][2]
- ฮิ-โนะ-คามิ (日神; ญี่ปุ่นเก่า: Pi1-no-Kami2)[1][2]
'Amaterasu' อาจจะมาจากรูปกริยา amateru "ส่องสว่าง / ส่องแสงบนท้องฟ้า" (ama "ท้องฟ้า, สวรรค์" + teru "สว่าง") ประสมกับกริยาช่วยประเภทให้เกียรติ -su,[3] ในขณะที่ 'Ōmikami' แปลว่า "เทพที่ยิ่งใหญ่ [และ] น่าเคารพ" (ō "ยิ่งใหญ่" + คำนำหน้าประเภทให้เกียรติ mi- + kami)
เนื่องจากเป็นบรรพบุรุษของราชวงศ์ ฉายา 'ซูเม(ระ)-โอ(มิ)กามิ' (皇大神, แปลว่า "เทพจักรพรรดิผู้ยิ่งใหญ่"; สามารถอ่านได้เป็น 'โคไตจิง'[4]) สามารถอิงถึงอามาเตราซุได้ และมีพระนามอื่นที่อิงถึงเทพีองค์เดียวกัน เช่น 'อามาเตราซุ-ซูเม(ระ)-โอ(มิ)กามิ' (天照皇大神, สามารถอ่านได้เป็น 'เท็นโชโคไตจิง')[5][6] และ 'อามาเตราชิมาซุ-ซูเม(ระ)-โอมิกามิ' (天照坐皇大御神)[7]
ในสมัยกลางถึงสมัยใหม่ตอนต้น มีการเรียกเทพีองค์นี้เป็น 'เท็นโชไดจิง' (รูปองโยมิของ 天照大神) หรือ 'อามาเตรุองงามิ' (พระนามเดียวกันที่อ่านอีกแบบ)[8][9][10][11]
อ้างอิง
[แก้]- ↑ 1.0 1.1 1.2 1.3 Kuroita, Katsumi (1943). Kundoku Nihon Shoki, vol. 1 (訓読日本書紀 上巻). Iwanami Shoten. p. 27.
- ↑ 2.0 2.1 2.2 2.3 Aston, William George (1896). Wikisource. . Nihongi: Chronicles of Japan from the Earliest Times to A.D. 697. Kegan Paul, Trench, Trübner & Co. p. – โดยทาง
- ↑ Akira Matsumura, บ.ก. (1995). 大辞林. Daijirin (ภาษาญี่ปุ่น) (2nd ed.). Sanseido Books. ISBN 978-4385139005.|name="name explanation"|group="N"}}
- ↑ "皇大神". Kotobank コトバンク. The Asahi Shimbun Company. สืบค้นเมื่อ 2020-10-11.
- ↑ Tobe, Tamio (2004). "Nihon no kami-sama" ga yoku wakaru hon: yaoyorozu no kami no kigen / seikaku kara go-riyaku made o kanzen gaido (「日本の神様」がよくわかる本: 八百万神の起源・性格からご利益までを完全ガイド). PHP Kenkyūsho.
- ↑ Nagasawa, Rintarō (1917). Kōso kōsō no seiseki (皇祖皇宗之聖蹟). Shinreikaku. p. 1.
- ↑ "天照大御神(アマテラスオオミカミ)". 京都通百科事典 (Encyclopedia of Kyoto). สืบค้นเมื่อ 2020-10-11.
- ↑ Teeuwen, Mark (2015). "Knowing vs. owning a secret: Secrecy in medieval Japan, as seen through the sokui kanjō enthronement unction". ใน Scheid, Bernhard; Teeuwen, Mark (บ.ก.). The Culture of Secrecy in Japanese Religion. Routledge. p. 1999. ISBN 9781134168743.
- ↑ Kaempfer, Engelbert (1999). Kaempfer's Japan: Tokugawa Culture Observed. แปลโดย Bodart-Bailey, Beatrice M. University of Hawaii Press. p. 52. ISBN 9780824820664.
- ↑ Hardacre, Helen (1988). Kurozumikyo and the New Religions of Japan. Princeton University Press. p. 53. ISBN 0691020485.
- ↑ Bocking, Brian (2013). The Oracles of the Three Shrines: Windows on Japanese Religion. Routledge. ISBN 9781136845451.
แหล่งข้อมูลอื่น
[แก้]- วิกิมีเดียคอมมอนส์มีสื่อเกี่ยวกับ Amaterasu ōmikami
- สมฤทธี บัวระมวล. ตำนานแห่งศาสนา ลัทธินิยมและความเชื่อปรัมปรา. กทม. คุ้มคำ. มปป. หน้า 127-129