ข้ามไปเนื้อหา

หางบน

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
ในภาพนี้ หางบนมีสีแดง
A diagram showing the line terms used in typography
หางบนเป็นส่วนของอักษรตัวพิมพ์เล็กที่อยู่เหนือเส้นค่าเฉลี่ย
สำหรับบริบทที่กว้างขึ้น โปรดดู กายวิภาคศาสตร์ของไทป์เฟซ

ในศิลปะการใช้ตัวพิมพ์และการเขียนด้วยลายมือ หางบน (อังกฤษ: ascender) คือส่วนของตัวอักษรพิมพ์เล็กที่อยู่เหนือเส้นค่าเฉลี่ยของไทป์เฟซ นั่นคือส่วนของตัวอักษรตัวพิมพ์เล็กที่สูงกว่าความสูงของตัวอักษรเอ็กซ์ของฟอนต์

หางบนกับหางล่างช่วยในการจดจำคำศัพท์ ด้วยเหตุนี้ หลาย ๆ สถานการณ์ที่ต้องการความชัดเจนสูง เช่น ป้ายถนน จึงหลีกเลี่ยงการใช้อักษรตัวพิมพ์ใหญ่เพียงอย่างเดียว (เช่น ตัวพิมพ์ใหญ่ทั้งหมด)[1]

การศึกษาในช่วงเริ่มต้นของการก่อสร้างเครือข่าย มอเตอร์เวย์ของอังกฤษสรุปได้ว่าคำที่มีตัวอักษรทั้งพิมพ์เล็กและใหญ่นั้นอ่านได้ง่ายกว่าคำที่มีแต่ "ตัวพิมพ์ใหญ่ทั้งหมด" และได้มีการออกแบบไทป์เฟซพิเศษสำหรับป้ายมอเตอร์เวย์ สิ่งเหล่านี้กลายเป็นเรื่องสากลทั่วสหราชอาณาจักรต่อมา ดูป้ายถนนในสหราชอาณาจักร

ฟอนต์ Bembo แบบไทป์เฟซโลหะ เครื่องขึ้นเช่น "f" ยืนอยู่เหนือเส้นหมวกมาก

ฟอนต์ที่มีไว้สำหรับข้อความส่วนเนื้อหาบางตัว เช่น Bembo และ Garamond จะมีหางบนที่สูงกว่าส่วนสูงของตัวพิมพ์ใหญ่[2][3][4][5]

อ้างอิง

[แก้]
  1. Sampson, Geoffrey (1985). Writing Systems: A linguistic introduction. Stanford, California: Stanford University Press. pp. 94–95. ISBN 0-8047-1254-9.
  2. Slimbach, Robert. "Using Acumin". Acumin microsite. Adobe Systems. สืบค้นเมื่อ 6 January 2016.
  3. Warde, Beatrice (1926). "The 'Garamond' Types". The Fleuron: 131–179.
  4. Amert, Kay (April 2008). "Stanley Morison's Aldine Hypothesis Revisited". Design Issues. 24 (2): 53–71. doi:10.1162/desi.2008.24.2.53. JSTOR 25224167.
  5. Morison, Stanley (1943). "Early Humanistic Script and the First Roman Type". The Library. s4-XXIV (1–2): 1–29. doi:10.1093/library/s4-XXIV.1-2.1.