ข้ามไปเนื้อหา

สายเกอลานาจายา

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
สายเกอลานาจายา
บอมบาร์ดิเอร์ อินโนเวีย ART 200 (ซ้าย) และ อินโนเวีย เมโทร 300 (ขวา) ที่สถานีเคแอลเซ็นทรัล
ข้อมูลทั่วไป
ชื่อลำลองLRT Laluan Kelana Jaya
สถานะเปิดให้บริการ
เจ้าของPrasarana Malaysia
หมายเลขสาย5 (สีทับทิม)
ที่ตั้งหุบเขากลัง
ปลายทาง
จำนวนสถานี37[1]
เว็บไซต์myrapid.com.my
การดำเนินงาน
รูปแบบระบบขนส่งทางรางขนาดกลาง
ระบบRapid KL (brand) Rapid KL
เส้นทางกมบักปุตราไฮท์
ผู้ดำเนินงานรถไฟเร็วกัวลาลัมเปอร์
ศูนย์ซ่อมบำรุงสุบัง
ขบวนรถบอมบาร์ดิเอร์ อินโนเวีย ART 200 & เมโทร 300
266 ขบวน; 2 ตู้ & 4 ตู้
กว้าง: 2.65 m (8 ft 8 in) - หน้าแคบ
ยาว: 67.1 m (220 ft) & 33.7 m (111 ft)
ผู้โดยสารต่อวัน236,341 (2023)[2]
ผู้โดยสาร73.76 ล้าน (2023)
94.66 ล้าน (2019, สูงสุด)[3]
ประวัติ
เปิดเมื่อระยะ 1: เกอลานาจายา - ปาซาร์ เสนี
1 กันยายน 1998; 26 ปีก่อน (1998-09-01)
ระยะ 2: ปาซาร์ เสนี - กมบัก
1 มิถุนายน 1999; 25 ปีก่อน (1999-06-01)
ส่วนต่อขยายล่าสุดเกอลานาจายา - ปุตราไฮท์
30 มิถุนายน 2016; 8 ปีก่อน (2016-06-30)
ข้อมูลทางเทคนิค
ระยะทาง46.4 กิโลเมตร (28.8 ไมล์)
ลักษณะทางวิ่งส่วนใหญ่ยกระดับ
ระดับดินและใต้ดิน
รางกว้าง1,435 mm (4 ft 8 12 in) สแตนดาร์ดเกจ
ระบบจ่ายไฟ750 V DC รางที่สาม + มอเตอร์เหนี่ยวนำเชิงเส้น
ความเร็ว80 กิโลเมตรต่อชั่วโมง (50 ไมล์ต่อชั่วโมง)
อาณัติสัญญาณAlcatel/Thales SelTrac CBTC

รถไฟรางเบา สายเกอลานาจายา เป็นเส้นทางรถไฟฟ้าขนาดกลาง รถไฟฟ้ารางเบาแบบอัตโนมัติเต็มรูปแบบ และไร้คนขับแห่งแรกใน หุบเขากลัง ประเทศมาเลเซีย โดยเป็นส่วนหนึ่งของ ระบบขนส่งมวลชนในหุบเขากลัง ครอบคลุมบริเวณกัวลาลัมเปอร์ ประเทศมาเลเซีย ให้บริการ 37 สถานี ระยะทาง 46.4 กิโลเมตร (28.8 ไมล์) ซึ่งส่วนใหญ่มีโครงสร้างใต้ดินและทางยกระดับ เดิมชื่อ รถไฟรางเบา ปูตรา ดำเนินการเป็นส่วนหนึ่งของระบบ RapidKL โดย แรพิดเรล ซึ่งเป็นบริษัทในเครือของ Prasarana Malaysia สายนี้ตั้งชื่อตามสถานีปลายทางเดิม ซึ่งก็คือ สถานีเกอลานาจายา เส้นดังกล่าวมีหมายเลข 5 และมีสีทับทิมบนแผนที่ระบบขนส่งมวลชนอย่างเป็นทางการ

ดูเพิ่ม

[แก้]

อ้างอิง

[แก้]
  1. "Kelana Jaya Line". RapidKL. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 11 May 2015. สืบค้นเมื่อ 2015-04-21.
  2. "Ridership". Rapid Rail Performance Update. RapidKL. 18 January 2024. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 5 January 2024. สืบค้นเมื่อ 18 January 2024.
  3. "Public Transportation Dashboard". RapidKL. 18 January 2024. สืบค้นเมื่อ 18 January 2024.

แหล่งข้อมูลอื่น

[แก้]