ระบบขนส่งมวลชนริมน้ำโตเกียว สายริงไก
หน้าตา
(เปลี่ยนทางจาก สายริงไก)
สายริงไก | |
---|---|
R | |
รถไฟ TWR 70-000 ซีรีส์ ขนส่งมวลชนริมน้ำโตเกียว มุ่งหน้าสถานีชินคิบะ | |
ข้อมูลทั่วไป | |
ชื่ออื่น | R |
ชื่อลำลอง | 東京臨海高速鉄道りんかい線[1] |
เจ้าของ | ระบบขนส่งมวลชนริมน้ำโตเกียว |
ที่ตั้ง | โตเกียว |
ปลายทาง | |
จำนวนสถานี | 8 |
การดำเนินงาน | |
ศูนย์ซ่อมบำรุง | ยาชิโอะ |
ขบวนรถ | TWR 70-000 ซีรีส์, E233-7000 ซีรีส์ |
ผู้โดยสารต่อวัน | 200,200[2] |
ประวัติ | |
เปิดเมื่อ | 30 มีนาคม ค.ศ. 1996 (28 ปี) |
ข้อมูลทางเทคนิค | |
ระยะทาง | 12.2 km (7.6 mi) |
รางกว้าง | 1,067 mm (3 ft 6 in) |
ระบบจ่ายไฟ | 1,500 V DC เหนือหัว |
ระบบขนส่งมวลชนริมน้ำโตเกียว สายริงไก (ญี่ปุ่น: りんかい線; โรมาจิ: Rinkai-sen) เป็นเส้นทางรถไฟในกรุงโตเกียว ประเทศญี่ปุ่น ดำเนินการโดยบริษัท Tokyo Waterfront Area Rapid Transit ใช้รถไฟฟ้าบางคันของบริษัทรถไฟญี่ปุ่นตะวันออก
รายชื่อสถานี
[แก้]สถานีทั้งหมดตั้งอยู่ในโตเกียว รถไฟทุกขบวนจอดทุกสถานีในเส้นทาง
รหัส | สถานี | ระยะทาง (km) | เชื่อมต่อ | ที่ตั้ง | ||
---|---|---|---|---|---|---|
จากสถานี ก่อนหน้า |
สะสม | |||||
R01
|
ชินคิบะ | 新木場 Shin-Kiba |
- | 0.0 |
|
เขตโคโต |
R02
|
ชิโนโนเมะ | 東雲 Shinonome |
2.2 | 2.2 | ||
R03
|
โคกุไซ-เทนจิโจ | 国際展示場 Kokusai-Tenjijō |
1.3 | 3.5 | ยูริกาโมเมะ | |
R04
|
โตเกียวเทเลพอร์ต | 東京テレポート Tokyo Teleport |
1.4 | 4.9 | ยูริกาโมเมะ | |
R05
|
เทนโนซุไอล์ | 天王洲アイル Tennōzu Isle |
2.9 | 7.8 | MO โตเกียวโมโนเรล | เขตชินางาวะ |
R06
|
ชินางาวะ ซีไซด์ | 品川シーサイド Shinagawa Seaside |
1.1 | 8.9 | ||
R07
|
โออิมาจิ | 大井町 Ōimachi |
1.6 | 10.5 | ||
R08
|
โอซากิ | 大崎 Ōsaki |
1.7 | 12.2 |
| |
↓ ทำขบวน มุ่งหน้า/จาก คาวาโงเอะ ผ่านสายไซเคียวและสายคาวาโกเอะ ↓ |
-
สถานีชินคิบะ
-
สถานีชิโนโนเมะ
-
สถานีโคกุไซ-เทนจิโจ
-
สถานีโตเกียวเทเลพอร์ต
-
สถานีชินางาวะ ซีไซด์
-
สถานีโออิมาจิ
-
สถานีโอซากิ
ขบวนรถ
[แก้]- TWR 70-000 ซีรีส์ ขบวนละ 10 ตู้ (ตั้งแต่ 1996)[3]
- JR ตะวันออก E233-7000 ซีรีส์ ขบวนละ 10 ตู้ (ตั้งแต่ 30 มิถุนายน 2013)[4][5]
-
TWR 70-000 ซีรีส์ เมื่อมิถุนายน 2022
-
JR ตะวันออก E233-7000 ซีรีส์ เมื่อมิถุนายน 2022
- อดีตขบวนรถ
- JR ตะวันออก 205 ซีรีส์ ขบวนละ 10 ตู้ (2002–2016)[6]
-
JR ตะวันออก 205 ซีรีส์ เมื่อกรกฎาคม 2008
อ้างอิง
[แก้]- ↑ 東京臨海高速鉄道の駅名標
- ↑ "企業・採用|お台場電車 りんかい線" (PDF).
- ↑ "中期経営計画2022" [2022 Mid-term Management Plan] (PDF). March 2022. สืบค้นเมื่อ 3 April 2022.
- ↑ 秋田新幹線用車両と埼京線・横浜線用車両の新造について [Akita Shinkansen, Saikyo Line, and Yokohama Line new train details] (PDF) (ภาษาญี่ปุ่น). JR East. 10 April 2012. สืบค้นเมื่อ 10 April 2012.
- ↑ 新型車両で快適に 埼京・川越線、30日から導入 [Comfortable new trains to be introduced on Saikyo/Kawagoe Line from 30th] (ภาษาญี่ปุ่น). Japan: The Saitama Shimbun. 7 June 2013. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2013-06-09. สืบค้นเมื่อ 7 June 2013.
- ↑ JR電車編成表 2012冬 [JR EMU Formations - Winter 2012]. Japan: Kotsu Shimbunsha. October 2011. p. 66. ISBN 978-4-330-25611-5.
แหล่งข้อมูลอื่น
[แก้]วิกิมีเดียคอมมอนส์มีสื่อที่เกี่ยวข้องกับ สายริงไก
- Tokyo Waterfront Area Rapid Transit (official) (ญี่ปุ่น)