อากิตะชิงกันเซ็ง
หน้าตา
อากิตะชิงกันเซ็ง | |||
---|---|---|---|
E6 ซีรีส์ โคมาชิ | |||
ข้อมูลทั่วไป | |||
เจ้าของ | JR ตะวันออก | ||
ที่ตั้ง | ญี่ปุ่น | ||
ปลายทาง | |||
จำนวนสถานี | 11 | ||
การดำเนินงาน | |||
รูปแบบ | ชิงกันเซ็งขนาดเล็ก | ||
ผู้ดำเนินงาน | JR ตะวันออก | ||
ขบวนรถ | E6 ซีรีส์ | ||
ประวัติ | |||
เปิดเมื่อ | 22 มีนาคม 1997 | ||
ข้อมูลทางเทคนิค | |||
ระยะทาง | 127.3 กม. | ||
รางกว้าง | 1435 | ||
ระบบจ่ายไฟ | 20 kV กระแสสลับ, 50 Hz, ด้านบนตัวรถ | ||
ความเร็ว | 130 กม./ ชม.[1] | ||
|
อากิตะชิงกันเซ็ง (ญี่ปุ่น: 秋田新幹線; โรมาจิ: Akita Shinkansen) เป็นรถไฟชิงกันเซ็งขนาดเล็ก ให้บริการในภูมิภาคคันโต และโทโฮกุ ในประเทศญี่ปุ่น เชื่อมต่อระหว่างเมืองโตเกียวกับเมืองโมริโอกะ จังหวัดอิวาเตะ และเมืองอากิตะ จังหวัดอากิตะ
อากิตะ ชิงกันเซ็งใช้เส้นทางของโทโฮกุชิงกันเซ็ง จนถึงสถานีรถไฟโอมางาริ จึงเปลี่ยนไปใช้เส้นทางสายทาซาวาโกะ และสายหลักโออุ จนถึงอากิตะ
สถานี
[แก้]ระหว่างโตเกียวถึงโมริโอกะ จะใช้สถานีร่วมกับสายโทโฮกุชินกันเซ็ง รายละเอียดสถานี ดังนี้
สถานี | ญี่ปุ่น | ระยะทาง (กม) | การเชื่อมต่อ | ที่ตั้ง | ||
---|---|---|---|---|---|---|
จาก โตเกียว | จาก โมริโอกะ | |||||
โมริโอกะ | 盛岡 | 535.3 | 0.0 | โทโฮกุชิงกันเซ็ง (ไป ชินอาโอโมริ และ ชินฮาโกดาเตะโฮกูโตะ), สายหลักโทโฮกุ, สายยามาดะ, สายทาซาวาโกะ, สายอิวาเตะกิงงะ | โมริโอกะ | จังหวัดอิวาเตะ |
ชิซูกูอิชิ | 雫石 | 552.9 | 16.0 | สายทาซาวาโกะ | ชิซูกูอิชิ | |
ทาซาวาโกะ | 田沢湖 | 579.4 | 40.1 | สายทาซาวาโกะ | เซ็งโบกุ | จังหวัดอากิตะ |
คากูโนดาเตะ | 角館 | 600.0 | 58.8 | สายทาซาวาโกะ, สายอากิตะไนริกุ | ||
โอมางาริ | 大曲 | 618.5 | 75.6 | สายหลักโออุ, สายทาซาวาโกะ | ไดเซ็น | |
อากิตะ | 秋田 | 670.2 | 127.3 | สายหลักโออุ, สายหลักอูเอะสึ, สายโองะ | อากิตะ |
อ้างอิง
[แก้]- ↑ "300km/hのトップランナー [300 km/h Top Runners]". Japan Railfan Magazine (Japan: Kōyūsha Co., Ltd.) 52 (612) : หน้า.14. เมษายน 2012.
หมวดหมู่:
- ชิงกันเซ็ง
- การขนส่งระบบรางในโตเกียว
- การขนส่งระบบรางในจังหวัดไซตามะ
- การขนส่งระบบรางในจังหวัดโทจิงิ
- การขนส่งระบบรางในจังหวัดฟูกูชิมะ
- การขนส่งระบบรางในจังหวัดมิยางิ
- การขนส่งระบบรางในจังหวัดอิวาเตะ
- การขนส่งระบบรางในจังหวัดอากิตะ
- เส้นทางรถไฟที่เปิดทำการในปี พ.ศ. 2540
- บทความเกี่ยวกับ การคมนาคมขนส่ง ที่ยังไม่สมบูรณ์