ข้ามไปเนื้อหา

สตรีในประเทศญี่ปุ่น

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
สตรีในประเทศญี่ปุ่น
ภาพถ่ายของสตรีชาวญี่ปุ่นจากหนังสือ "ประเทศญี่ปุ่นและชาวญี่ปุ่น" (ค.ศ. 1902)
สถิติทั่วไป
การตายของมารดา (ต่อ 100,000 คน)5 (ค.ศ. 2010)
สตรีในรัฐสภา10.2 เปอร์เซ็นต์ (ค.ศ. 2018)[1]
สตรีอายุมากกว่า 25 ปีที่มีการศึกษาระดับมัธยมศึกษา80.0 เปอร์เซ็นต์ (ค.ศ. 2010)
สตรีในกำลังแรงงานอัตราการจ้างงาน 64.6 เปอร์เซ็นต์ (ค.ศ. 2015)[2]
ดัชนีความไม่เสมอภาคทางเพศ[3]
ค่า0.083 (ค.ศ. 2021)
อันดับ22 จาก 191
ดัชนีช่องว่างระหว่างเพศระดับโลก[4]
ค่า0.650 (ค.ศ. 2022)
อันดับ116 จาก 146

แม้ว่าสตรีในประเทศญี่ปุ่นจะได้รับการยอมรับว่ามีสิทธิตามกฎหมายเท่าเทียมกันกับผู้ชายหลังสงครามโลกครั้งที่สอง แต่สภาพทางเศรษฐกิจของสตรียังคงไม่สมดุล[5] ซึ่งความคิดริเริ่มด้านนโยบายสมัยใหม่เพื่อส่งเสริมการมีส่วนร่วมของมารดาและในสถานที่ทำงานให้ผลลัพธ์ที่หลากหลาย[6]

สตรีในประเทศญี่ปุ่นได้รับสิทธิลงคะแนนเสียงใน ค.ศ. 1945[7] แม้ว่าสถานะของสตรีชาวญี่ปุ่นจะดีขึ้นอย่างต่อเนื่องในช่วงหลายทศวรรษนับตั้งแต่นั้นมา แต่ความคาดหวังแบบดั้งเดิมสำหรับผู้หญิงที่แต่งงานแล้วและมารดาถูกมองว่าเป็นอุปสรรคต่อความเท่าเทียมกันทางเศรษฐกิจโดยสมบูรณ์[8] ส่วนสถาบันกษัตริย์เป็นสถาบันสำหรับชายเท่านั้น และเจ้าหญิงจะต้องลาออกจากตำแหน่งของจักรพรรดิหากเธอแต่งงานกับคนธรรมดาสามัญ

ประวัติศาสตร์วัฒนธรรม

[แก้]
ภาพวาดสตรีญี่ปุ่นในช่วงปลายคริสต์ศตวรรษที่ 19/ต้นคริสต์ศตวรรษที่ 20 ได้แก่ สตรีในชุดแดง (ค.ศ. 1912) และใต้ร่มเงาต้นไม้ (ค.ศ. 1898) โดยคูโรดะ เซกิ รวมถึงสตรีชาวญี่ปุ่น (ค.ศ. 1903) โดยแบร์ตอล็อน เซแกย์ ซึ่งเป็นศิลปินชาวฮังการี

ขอบเขตที่สตรีสามารถมีส่วนร่วมในสังคมญี่ปุ่นนั้นแตกต่างกันไปตามกาลเวลาและชนชั้นทางสังคม โดยในคริสต์ศตวรรษที่ 8 ประเทศญี่ปุ่นมีจักรพรรดินี และในคริสต์ศตวรรษที่ 12 ระหว่างยุคเฮอัง สตรีในญี่ปุ่นสามารถสืบทอดทรัพย์สินในชื่อของตนเองและจัดการได้ด้วยตัวเอง ซึ่ง "ผู้หญิงสามารถเป็นเจ้าของทรัพย์สิน, ได้รับการศึกษา และได้รับอนุญาตให้มีเพศสัมพันธ์ได้ หากแยกกันโดยสิ้นเชิง"[9]

เคาน์เตส มุตสึ เรียวโกะ ภริยาของเคานต์ มุตสึ มูเนมิตสึ ซึ่งเป็นนักการทูตที่มีชื่อเสียง ภาพนี้ถ่ายเมื่อ ค.ศ. 1888
ยานางิวาระ บยากูเร็ง ซึ่งเป็นกวีและสมาชิกราชวงศ์

ตั้งแต่ปลายยุคเอโดะ สถานะของสตรีก็ลดลง ในคริสต์ศตวรรษที่ 17 หนังสือ "อนนะไดงากุ" หรือ "การเรียนรู้สำหรับผู้หญิง" ของเอกิเก็ง ไคบาระ ผู้เป็นนักเขียนลัทธิขงจื๊อ ได้กล่าวถึงความคาดหวังที่มีต่อผู้หญิงญี่ปุ่น โดยระบุว่า "นี่คือความโง่เขลาของอุปนิสัยของผู้หญิงญี่ปุ่นที่ทำให้เธอต้องไม่ไว้ใจตัวเองและเชื่อฟังสามีในทุกกรณี"[10]

ดูเพิ่ม

[แก้]

ประวัติศาสตร์:

อ้างอิง

[แก้]
  1. "Women in Parliaments: World Classification". www.ipu.org.
  2. OECD. "LFS by sex and age - indicators". Stats.oecd.org. สืบค้นเมื่อ 2019-08-04.
  3. "Human Development Report 2021/2022" (PDF). HUMAN DEVELOPMENT REPORTS. สืบค้นเมื่อ 18 October 2022.
  4. "Global Gender Gap Report 2022" (PDF). World Economic Forum. สืบค้นเมื่อ 1 March 2023.
  5. อ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ <ref> ไม่ถูกต้อง ไม่มีการกำหนดข้อความสำหรับอ้างอิงชื่อ nytimes-soble
  6. อ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ <ref> ไม่ถูกต้อง ไม่มีการกำหนดข้อความสำหรับอ้างอิงชื่อ Borovoy
  7. "Birth of the Constitution of Japan - Chronological Table". National Diet Library, Japan. สืบค้นเมื่อ 18 February 2020.
  8. อ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ <ref> ไม่ถูกต้อง ไม่มีการกำหนดข้อความสำหรับอ้างอิงชื่อ Nohara
  9. "Heroines: Heian Period (Women in World History Curriculum)". www.womeninworldhistory.com.
  10. Ekken, Kaibara (2010). Onna Daigaku A Treasure Box of Women's Learning. Gardners Books. ISBN 978-0955979675.

อ่านเพิ่ม

[แก้]
  • Adams, Kenneth Alan (2009). "Modernization and dangerous women in Japan". The Journal of Psychohistory. 37 (1): 33–44. PMID 19852238. ProQuest 203930080.
  • Akiba, Fumiko (March 1998). "Women At Work Toward Equality In The Japanese Workplace". Look Japan. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2002-03-21.
  • Aoki, Debora. Widows of Japan: An anthropological perspective (Trans Pacific Press, 2010).
  • Bardsley, Jan. Women and Democracy in Cold War Japan (Bloomsbury, 2015) excerpt.
  • Bernstein, Lee Gail. ed. Recreating Japanese Women, 1600–1945 (U of California Press, 1991).
  • Brinton, Mary C. Women and the economic miracle: Gender and work in postwar Japan (U of California Press, 1993).
  • Copeland, Rebecca L. Lost leaves: women writers of Meiji Japan (U of Hawaii Press, 2000).
  • Faison, Elyssa. Managing women: Disciplining labor in modern Japan (U of California Press, 2007).
  • Francks, Penelope (June 2015). "Was Fashion a European Invention?: The Kimono and Economic Development in Japan". Fashion Theory. 19 (3): 331–361. doi:10.2752/175174115X14223685749368. S2CID 194189967.
  • Garon, Sheldon (1 August 2010). "State and family in modern Japan: a historical perspective". Economy and Society. 39 (3): 317–336. doi:10.1080/03085147.2010.486214. S2CID 144451445.
  • Gayle, Curtis Anderson. Women's history and local community in postwar Japan (Routledge, 2013). excerpt
  • Gelb, J; Estevez-Abe, M (1 October 1998). "Political women in Japan: a case study of the Seikatsusha network movement". Social Science Japan Journal. 1 (2): 263–279. doi:10.1093/ssjj/1.2.263.
  • Gulliver, Katrina. Modern women in China and Japan: Gender, feminism and global modernity between the wars (IB Tauris, 2012).
  • Hastings, Sally A. "Gender and Sexuality in Modern Japan." in A Companion to Japanese History (2007): 372+.
  • Hastings, Sally A. (1 June 1993). "The Empress' New Clothes and Japanese Women, 1868–1912". The Historian. 55 (4): 677–692. doi:10.1111/j.1540-6563.1993.tb00918.x.
  • LaFleur, William R. Liquid Life: Abortion and Buddhism in Japan (Princeton UP, 1992).
  • Lebra, Joyce C. Women in changing Japan (Routledge, 20190 ASIN B07S9H3S18
  • McAndrew, Malia (2014). "Beauty, Soft Power, and the Politics of Womanhood During the U.S. Occupation of Japan, 1945–1952". Journal of Women's History. 26 (4): 83–107. doi:10.1353/jowh.2014.0063. S2CID 143829831. แม่แบบ:Project MUSE.
  • Patessio, Mara. Women and public life in early Meiji Japan: The development of the feminist movement (U of Michigan Press, 2020). ASIN 192928067X
  • Robins-Mowry, Dorothy. The hidden sun: Women of modern Japan (Westview Press, 1983) ASIN 0865314217
  • Sato, Barbara. The New Japanese Woman: Modernity, Media, and Women in Interwar Japan (Duke UP, 2003). ASIN 0822330083
  • Tipton, Elise K. (1 May 2009). "How to Manage a Household: Creating Middle Class Housewives in Modern Japan". Japanese Studies. 29 (1): 95–110. doi:10.1080/10371390902780555. S2CID 144960231.

แหล่งข้อมูลอื่น

[แก้]