รายชื่อสมการในกลศาสตร์ดั้งเดิม
กลศาสตร์ดั้งเดิม |
---|
กลศาสตร์ดั้งเดิมเป็นหนึ่งในสาขาของฟิสิกส์ที่อธิบายถึงการเคลื่อนที่ของวัตถุขนาดใหญ่[1] ทฤษฎีของกลศาสตร์ดั้งเดิมเป็นสิ่งที่คนคุ้นเคยที่สุดในฟิสิกส์ทั้งหมด โดยแนวคิดจะครอบคลุมถึงมวล ความเร่ง และแรง ซึ่งเป็นสิ่งที่ใช้เป็นปกติและเป็นที่รู้จัก[2] สาขานี้ตั้งอยู่บนรากฐานของปริภูมิยูคลิดสามมิติด้วยแกนคงที่ เรียกว่ากรอบอ้างอิง โดยจุดตัดของแกนทั้งสามเรียกได้อีกชื่อหนึ่งว่าจุดกำเนิดของปริภูมิ[3]
กลศาสตร์ดั้งเดิมมีการใช้สมการจำนวนมาก และแนวคิดทางคณิตศาสตร์อื่น ๆ ที่เกี่ยวข้องโดยปริมาณทางฟิสิกส์หลายอย่างกับสิ่งอื่น สิ่งเหล่านี้ประกอบด้วยสมการเชิงอนุพันธ์ แมนิโฟลด์ (Manifolds) ลีกรุป (Lie groups) และทฤษฎีเออร์กอดิก (Ergodic theory)[4]
บทความนี้เป็นบทความที่รวบรวมสมการจากกลศาสตร์นิวตัน ดังนั้นสำหรับกลศาสตร์ดั้งเดิมที่มีความทั่วไปของสมการมากกว่ากลศาสตร์นิวตัน สามารถดูได้ที่กลศาสตร์เชิงวิเคราะห์ (ซึ่งรวมไปถึงกลศาสตร์แบบลากรางจ์ และกลศาสตร์แฮมิลตัน)
กลศาสตร์ดั้งเดิม
[แก้]มวลและปริมาตร
[แก้]ปริมาณทางฟิสิกส์ (ชื่อทั่วไป) | สัญลักษณ์ (ทั่วไป) | สมการนิยาม | หน่วยเอสไอ | มิติ |
---|---|---|---|---|
ความหนาแน่นเชิงเส้น, เชิงพื้นผิว, เชิงปริมาตร | λ หรือ μ (โดยเฉพาะอย่างยิ่งในสวนศาสตร์) สำหรับเชิงเส้น σ สำหรับเชิงพื้นผิว และ ρ สำหรับเชิงปริมาตร |
|
กิโลกรัม เมตร-n สำหรับ n = 1,2,3 | [M][L]-n |
โมเมนต์ของมวล | m (ไม่มีสัญลักษณ์ทั่วไป) | มวลของจุด
มวลไม่ต่อเนื่องบนแกน
มวลต่อเนื่องบนแกน
|
กิโลกรัม เมตร | [M][L] |
จุดศูนย์มวล | rcom (มีสัญลักษณ์ค่อนข้างเยอะ) | โมเมนต์ของมวลที่ i คือ
มวลไม่ต่อเนื่อง
มลวต่อเนื่อง
|
เมตร | [L] |
มวลลดทอนของสองวัตถุ | m12, μ
และมีส่วนของมวลคือ m1 และ m2 |
กิโลกรัม | [M] | |
โมเมนต์ความเฉื่อย | I | มวลไม่ต่อเนื่อง
มวลต่อเนื่อง
|
กิโลกรัม เมตร2 | [M][L]2 |
ปริมาณเชิงอนุพันธ์จลนศาสตร์
[แก้]ปริมาณทางฟิสิกส์ (ชื่อทั่วไป) | สัญลักษณ์ (ทั่วไป) | สมการนิยาม | หน่วยเอสไอ | มิติ |
---|---|---|---|---|
ความเร็ว | v | เมตร วินาที-1 | [L][T]-1 | |
ความเร่ง | a | เมตร วินาที-2 | [L][T]-2 | |
ความกระตุก | j | เมตร วินาที-3 | [L][T]-3 | |
ความเร็วเชิงมุม | ω | เรเดียน วินาที-1 | [T]-1 | |
ความเร่งเชิงมุม | α | เรเดียน วินาที-2 | [T]-2 |
ปริมาณเชิงอนุพันธ์พลศาสตร์
[แก้]ปริมาณทางฟิสิกส์ (ชื่อทั่วไป) | สัญลักษณ์ (ทั่วไป) | สมการนิยาม | หน่วยเอสไอ | มิติ |
---|---|---|---|---|
โมเมนตัม | p | กิโลกรัม เมตร วินาที-1 | [M][L][T]-1 | |
แรง | F | นิวตัน = กิโลกรัม เมตร วินาที-2 | [M][L][T]-2 | |
การดล | J, Δp, I | กิโลกรัม เมตร วินาที-1 | [M][L][T]-1 | |
โมเมนตัมเชิงมุมรอบตำแหน่งจุด r0 | L, J, S |
ส่วนใหญ่แล้ว เราสามารถให้ ถ้าอนุภาคโคจรรอบแกนที่ตัดกับจุดเดียว |
กิโลกรัม เมตร2 วินาที-1 | [M][L]2[T]-1 |
โมเมนต์ของแรงรอบตำแหน่งจุด r0 หรือทอร์ก | τ, M | นิวตัน เมตร = กิโลกรัม เมตร2 วินาที-2 | [M][L]2[T]-2 | |
การดลเชิงมุม | ΔL (ไม่มีสัญลักษณ์ทั่วไป) | กิโลกรัม เมตร2 วินาที-1 | [M][L]2[T]-1 |
นิยามทั่วไปของพลังงาน
[แก้]ปริมาณทางฟิสิกส์ (ชื่อทั่วไป) | สัญลักษณ์ (ทั่วไป) | สมการนิยาม | หน่วยเอสไอ | มิติ |
---|---|---|---|---|
งานที่ขึ้นกับแรงลัพธ์ | W | จูล = นิวตัน เมตร = กิโลกรัม เมตร2 วินาที-2 | [M][L]2[T]-2 | |
งานสุดท้าย ON และ BY ของระบบเครื่องจักร | WON, WBY | จูล = นิวตัน เมตร = กิโลกรัม เมตร2 วินาที-2 | [M][L]2[T]-2 | |
พลังงานศักย์ | φ, Φ, U, V, Ep | จูล = นิวตัน เมตร = กิโลกรัม เมตร2 วินาที-2 | [M][L]2[T]-2 | |
กำลัง | P | วัตต์ = จูล วินาที-1 | [M][L]2[T]-3 |
ทุกการอนุรักษ์พลังงานต้องมีพลังงานศักย์อยู่ โดยสองหลักการต่อไปนี้สามารถให้ค่าคงที่ไม่สัมพัทธ์กับ U จะได้ว่า
- ถ้าแรงที่กระทำเป็นศูนย์ พลังงานศักย์จะมีค่าเท่ากับศูนย์
- ถ้าแรงที่กระทำถูกเปลี่ยนเป็นงาน พลังงานศักย์จะหายไป
กลศาสตร์ทั่วไป
[แก้]จลน์ศาสตร์
[แก้]ส่วนนี้รอเพิ่มเติมข้อมูล คุณสามารถช่วยเพิ่มข้อมูลส่วนนี้ได้ |
พลศาสตร์
[แก้]ส่วนนี้รอเพิ่มเติมข้อมูล คุณสามารถช่วยเพิ่มข้อมูลส่วนนี้ได้ |
พลังงาน
[แก้]ส่วนนี้รอเพิ่มเติมข้อมูล คุณสามารถช่วยเพิ่มข้อมูลส่วนนี้ได้ |
สมการของออยเลอร์สำหรับพลศาสตร์ของวัตถุแข็งเกร็ง
[แก้]ส่วนนี้รอเพิ่มเติมข้อมูล คุณสามารถช่วยเพิ่มข้อมูลส่วนนี้ได้ |
การเคลื่อนที่ทั่วไปบนระนาบ
[แก้]ส่วนนี้รอเพิ่มเติมข้อมูล คุณสามารถช่วยเพิ่มข้อมูลส่วนนี้ได้ |
สมการการเคลื่อนที่ (ความเร่งคงที่)
[แก้]ส่วนนี้รอเพิ่มเติมข้อมูล คุณสามารถช่วยเพิ่มข้อมูลส่วนนี้ได้ |
การแปลงกรอบอ้างอิงแบบกาลิเลโอ
[แก้]ส่วนนี้รอเพิ่มเติมข้อมูล คุณสามารถช่วยเพิ่มข้อมูลส่วนนี้ได้ |
เครื่องกลแบบแกว่ง
[แก้]ส่วนนี้รอเพิ่มเติมข้อมูล คุณสามารถช่วยเพิ่มข้อมูลส่วนนี้ได้ |
อ้างอิง
[แก้]- ↑ Mayer, Sussman & Wisdom 2001, p. xiii
- ↑ Berkshire & Kibble 2004, p. 1
- ↑ Berkshire & Kibble 2004, p. 2
- ↑ Arnold 1989, p. v
บรรณานุกรม
[แก้]- Arnold, Vladimir I. (1989), Mathematical Methods of Classical Mechanics (2nd ed.), Springer, ISBN 978-0-387-96890-2
- Berkshire, Frank H.; Kibble, T. W. B. (2004), Classical Mechanics (5th ed.), Imperial College Press, ISBN 978-1-86094-435-2
- Mayer, Meinhard E.; Sussman, Gerard J.; Wisdom, Jack (2001), Structure and Interpretation of Classical Mechanics, MIT Press, ISBN 978-0-262-19455-6