ข้ามไปเนื้อหา

รางวัลนาฏราช

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
รางวัลนาฏราช
ปัจจุบัน: รางวัลนาฏราช ครั้งที่ 15
รางวัลสำหรับผู้สร้างสรรค์ผลงานด้านวิทยุโทรทัศน์
ประเทศ ไทย
จัดโดยสมาพันธ์สมาคมวิชาชีพวิทยุกระจายเสียงและวิทยุโทรทัศน์
รางวัลแรก16 พฤษภาคม พ.ศ. 2553 (14 ปี)
เว็บไซต์rtbpf.org/nataraja-awards/
ตัวอย่างผู้ชนะรางวัลนาฏราชล่าสุด
← 2565 2566
 
สาขา เกียรติยศทางด้านวิทยุ เกียรติยศทางด้านโทรทัศน์
ผู้ชนะเลิศ ฟองสนาน จามรจันทร์ สุทธิชัย หยุ่น
 
สาขา นักแสดงนำชายยอดเยี่ยม นักแสดงนำหญิงยอดเยี่ยม
ผู้ชนะเลิศ อนันดา เอเวอริงแฮม
(เกมรักทรยศ)
แอน ทองประสม
(เกมรักทรยศ)
สาขา ผู้กำกับยอดเยี่ยม พิธีกรยอดเยี่ยม
ผู้ชนะเลิศ ปวันรัตน์ นาคสุริยะ
(มาตาลดา)
สุวิกรม อัมระนันทน์
(Perspective)

รางวัลนาฏราช (อังกฤษ: Nataraja Award) เป็นรางวัลที่มอบให้กับความสำเร็จในด้านศิลปะและด้านเทคนิคในอุตสาหกรรมโทรทัศน์และวิทยุ จัดเป็นประจำทุกปีโดย สมาพันธ์สมาคมวิชาชีพวิทยุกระจายเสียงและวิทยุโทรทัศน์ รางวัลนี้เป็นที่ยอมรับในระดับประเทศถึงความเป็นเลิศในด้านความสำเร็จของรายการโทรทัศน์ ละครโทรทัศน์ และรายการวิทยุ ซึ่งประเมินโดยการลงคะแนนเสียงจากสมาชิกของสมาพันธ์ ผู้ชนะเลิศในสาขาต่าง ๆ จะได้รับสำเนารูปปั้นนางรำทองคำ ที่มีชื่อเรียกอย่างเป็นทางการว่า "รางวัลสำหรับความสำเร็จ"

ประวัติ

[แก้]

นับตั้งแต่การก่อกำเนิดของสถานีโทรทัศน์ในประเทศไทย เมื่อ พ.ศ. 2498 จนถึงปัจจุบัน เป็น เวลากว่า 50 ปี ที่รายการโทรทัศน์เป็นสื่อ ที่อยู่คู่สังคมไทยมาโดยตลอด ซึ่งตลอด ระยะเวลา ดังกล่าว ได้มีหน่วยงานและบุคคล ต่างๆ สร้างสรรค์รางวัลเพื่อเชิดชูผู้ผลิตรายการโทรทัศน์ใน ด้านต่างๆ ไม่ว่าจะเป็นรายการ หรือบุคคลทั้งเบื้องหน้า และเบื้องหลังของ แต่ละรายการนั้นๆ สมาพันธ์สมาคมวิชาชีพวิทยุกระจายเสียงและวิทยุโทรทัศน์ เป็นหน่วยงานที่เกิดจากการรวมตัว ของผู้ประกอบ อาชีพและวิชาชีพด้านกิจการ วิทยุกระจายเสียงและวิทยุโทรทัศน์ ได้เล็งเห็นว่า การ มอบรางวัลที่มีอยู่ตั้งแต่ อดีตจนถึงปัจจุบัน มิได้มีรางวัลใดที่ผู้ตัดสินเป็นผู้ประกอบวิชาชีพ วิทยุโทรทัศน์อย่างแท้จริง ซึ่งจะสามารถนำ ทั้งศาสตร์และศิลป์ที่สั่งสมจากประสบการณ์จริง ในวิชาชีพ มาประกอบการคัดเลือก อันจะเป็นการเผยแพร่ องค์ความรู้เหล่านี้ให้สังคมได้รับทราบ และเป็นการ แสดงศักยภาพของผู้ที่ประกอบอาชีพและวิชาชีพด้านกิจการ วิทยุโทรทัศน์อย่างแท้จริง ดังนั้นจึงได้ กำหนดจัดงานประกาศผลรางวัลให้กับผู้ประกอบวิชาชีพวิทยุโทรทัศน์ เพื่อ เป็นการสร้างมาตรฐาน ใหม่ในการตัดสินรางวัลโดยผู้ประกอบการวิชาชีพขึ้นเป็นครั้งแรกในปี พ.ศ. 2553

ผู้มีสิทธิ์ลงคะแนนเพื่อคัดเลือกผลงานรับรางวัลนาฏราชนั้น คือ ผู้ที่ประกอบอาชีพและวิชาชีพด้านกิจการวิทยุโทรทัศน์ ไม่ว่าจะเป็นนักแสดง ผู้กำกับ ผู้ผลิตรายการ ผู้ดำเนินรายการ หรือผู้ผลิตงานเพลง ที่เคยได้รับรางวัลทางโทรทัศน์และวิทยุต่าง ๆ ย้อนหลัง 15 ปี โดยผลคะแนนทั้งหมดจะได้รับการจัดการและเก็บรักษาไว้เป็นอย่างดีโดยบริษัทภายนอก และทราบผลพร้อมกันในวันตัดสิน

วัตถุประสงค์

[แก้]
  • สร้างมาตรฐานการตัดสินรางวัลในวิชาชีพวิทยุและโทรทัศน์ให้สังคมได้รับทราบ
  • เผยแพร่องค์ความรู้ในการประกอบวิชาชีพวิทยุและโทรทัศน์สู่สังคม
  • แสดงศักยภาพของผู้ประกอบอาชีพและวิชาชีพวิทยุและโทรทัศน์
  • สังคมรับรู้และเข้าใจในบทบาทของสมาพันธ์สมาคมวิชาชีพวิทยุกระจายเสียงและวิทยุ โทรทัศน์และผู้ประกอบวิชาชีพวิทยุกระจายเสียง และโทรทัศน์
  • ส่งเสริมและสนับสนุนการประกอบกิจการของผู้ประกอบวิชาชีพวิทยุและโทรทัศน์

กลุ่มเป้าหมาย

[แก้]
  • ผู้ประกอบการในวิชาชีพวิทยุและโทรทัศน์
  • ประชาชนทั่วไปทั้งชาวไทยและชาวต่างประเทศ

ประเภทของรางวัล

[แก้]

แบ่งเป็น 4 ประเภทคือ ละครโทรทัศน์ รายการโทรทัศน์ รายการวิทยุ และรางวัลเกียรติยศด้านวิทยุและโทรทัศน์ โดยมีจำนวนทั้งสิ้น 36 รางวัล+อีก 2 รางวัลใหม่ ดังนี้

คุณสมบัติของรายการที่ส่งเข้าประกวด

[แก้]
  • ออกอากาศทางสถานีโทรทัศน์สาธารณะของประเทศไทย
  • ออกอากาศเป็นครั้งแรกระหว่างวันที่ 1 มกราคม ของปีนั้น จนถึง 31 ธันวาคม ของปีนั้น

ผู้มีสิทธิ์ลงคะแนน

[แก้]
  • ผู้ที่ประกอบอาชีพและวิชาชีพด้านกิจการวิทยุโทรทัศน์ ไม่ว่าจะเป็นนักแสดง ผู้กำกับ ผู้ผลิตรายการ ผู้ดำเนินรายการ หรือผู้ผลิตงานเพลง ที่เคยได้รับรางวัลต่าง ๆ ใน ปีที่ผ่านมา
  • ผู้มีสิทธิ์ลงคะแนน
    • รางวัลด้านโทรทัศน์

ผู้มีสิทธิลงคะแนนรอบคัดเลือก จำนวน 44 ท่าน ผู้มีสิทธิลงคะแนนรอบตัดสิน จำนวน 163 ท่าน

    • รางวัลด้านวิทยุ

ผู้มีสิทธิลงคะแนนรอบคัดเลือก จำนวน 30 ท่าน ผู้มีสิทธิลงคะแนนรอบตัดสิน จำนวน 77 ท่าน

  • ผู้มีสิทธิ์ลงคะแนน 1 คน จะคัดเลือกผลงานทุกรางวัลตามเกณฑ์การตัดสินที่กำหนด อำนวยการเพื่อให้ ได้ผลงานตามจำนวนที่กำหนดในแต่ละรอบโดยจะต้องพิจารณาผลงานทั้งหมด และให้คะแนนในเอกสารให้คะแนนที่ปิด


ลำดับงานประกาศผลรางวัลนาฏราช

[แก้]
งานประกาศผลรางวัลนาฏราช วันที่ ถ่ายทอดสดทางช่อง พิธีกร สถานที่
ครั้งที่ 1 (พ.ศ. 2552) 16 พฤษภาคม พ.ศ. 2553 สถานีวิทยุโทรทัศน์ไทยทีวีสีช่อง 3 สัญญา คุณากร
สุริวิภา กุลตังวัฒนา
หอประชุมกองทัพเรือ ( ครั้งที่ 1 )
ครั้งที่ 2 (พ.ศ. 2553) 22 พฤษภาคม พ.ศ. 2554 สถานีวิทยุโทรทัศน์กองทัพบกช่อง 5 วุฒิธร มิลินทจินดา
สุริวิภา กุลตังวัฒนา
หอประชุมกองทัพเรือ ( ครั้งที่ 2 )
ครั้งที่ 3 (พ.ศ. 2554) 20 พฤษภาคม พ.ศ. 2555 สถานีโทรทัศน์สีกองทัพบกช่อง 7 วุฒิธร มิลินทจินดา
ปาณิสรา พิมพ์ปรุ
บางกอก คอนเวนชัน เซ็นเตอร์
แอท เซ็นทรัลเวิลด์
ครั้งที่ 4 (พ.ศ. 2555) 19 พฤษภาคม พ.ศ. 2556 สถานีโทรทัศน์โมเดิร์นไนน์ทีวี เอกชัย เอื้อสังคมเศรษฐ
ปาณิสรา พิมพ์ปรุ
หอประชุมกองทัพเรือ ( ครั้งที่ 3 )
ครั้งที่ 5 (พ.ศ. 2556) 8 มิถุนายน พ.ศ. 2557 สถานีวิทยุโทรทัศน์ไทยทีวีสีช่อง 3 ภคชนก์ โวอ่อนศรี
สุนิสา สุขบุญสังข์
เมืองไทยรัชดาลัย เธียเตอร์
ครั้งที่ 6 (พ.ศ. 2557) 28 มิถุนายน พ.ศ. 2558 ทรูโฟร์ยู ณัฐธีร์ โกศลพิศิษฐ์
ศิรพันธ์ วัฒนจินดา
หอประชุมกองทัพเรือ ( ครั้งที่ 4 )
ครั้งที่ 7 (พ.ศ. 2558) 12 มิถุนายน พ.ศ. 2559 พีพีทีวี สุวิกรม อัมระนันทน์
ปาณิสรา อารยะสกุล
หอประชุมกองทัพเรือ ( ครั้งที่ 5 )
ครั้งที่ 8 (พ.ศ. 2559) 20 กรกฎาคม พ.ศ. 2560 ช่อง 9 เอ็มคอตเอชดี วิลลี่ แมคอินทอช
มยุรา เศวตศิลา
หอประชุมใหญ่ ศูนย์วัฒนธรรมแห่งประเทศไทย (ครั้งที่ 1)
ครั้งที่ 9 (พ.ศ. 2560) 5 สิงหาคม พ.ศ. 2561 สถานีวิทยุโทรทัศน์ไทยทีวีสีช่อง 3 ธีมะ กาญจนไพริน
ชมพู่ ก่อนบ่าย
หอประชุมใหญ่ ศูนย์วัฒนธรรมแห่งประเทศไทย (ครั้งที่ 2)
ครั้งที่ 10 (พ.ศ. 2561) 21 กรกฎาคม พ.ศ. 2562 ช่องวัน 31 กิตติ เชี่ยววงศ์กุล
ปาณิสรา อารยะสกุล
จีเอ็มเอ็มไลฟ์เฮาส์ แอท เซ็นทรัลเวิลด์
ครั้งที่ 11 (พ.ศ. 2562) 12 กันยายน พ.ศ. 2563 ช่อง 3 เอชดี สัญญา คุณากร พัชรศรี เบญจมาศ (ช่วงแรก)
วิศวะ กิจตันขจร วัชรินทร์ เศรษฐกุดั๋น (ประเภทวิทยุ)
สุวิกรม อัมระนันทน์ ทิฆัมพร ฤทธิ์ธาอภินันท์ (ประเภทรายการโทรทัศน์)
กรรชัย กำเนิดพลอย เขมสรณ์ หนูขาว (ประเภทรายการข่าว)
ณภัทร เสียงสมบุญ กาญจน์เกล้า ด้วยเศียรเกล้า (ประเภทละครโทรทัศน์)
บ้านริก สตูดิโอ
ครั้งที่ 12 (พ.ศ. 2563) 11 กันยายน พ.ศ. 2564 ช่องเวิร์คพอยท์ กิตติ เชี่ยววงศ์กุล (ช่วงแรก)
ตฤณ เรืองกิจรัตนกุล วรินดา คุปติธรรมกุล (ประเภทวิทยุ และรางวัลสาขาย่อย)
ภาคภูมิ พันธุ์สถิตย์ อริสรา กำธรเจริญ (ประเภทรายการข่าว)
สมเกียรติ จันทร์พราหมณ์ เชอรี่ รัตนไพฑูรย์ (ประเภทรายการโทรทัศน์)
ณภัทร โชคจินดาชัย สาริษฐ์ ตรัยเลิศวิเชียร (ประเภทแพลตฟอร์มออนไลน์)
ดอม เหตระกูล ปิยธิดา มิตรธีรโรจน์ (ประเภทละครโทรทัศน์)
สตูดิโอเจเอสแอล
ครั้งที่ 13 (พ.ศ. 2564) 7 กันยายน พ.ศ. 2565 Facebook Live เพจของสมาพันธ์ฯ (เพจหน้าจอ) ลิลลี่ แม็คกร๊าธ
กาลเวลา เสาเรือน
แจ๊คเกอรีน
นันทกา วรวณิชชานันท์
ครั้งที่ 14 (พ.ศ. 2565) 14 กันยายน พ.ศ. 2566 สายฝน ชีช้าง
พัทรวี บุญประเสริฐ
The Intelligent Studio ทีวี ธันเดอร์
ครั้งที่ 15 (พ.ศ. 2566) 12 พฤษภาคม พ.ศ. 2567 ช่องวัน 31 นิติ ชัยชิตาทร
ปาณิสรา อารยะสกุล
ศูนย์การประชุมแห่งชาติสิริกิติ์

ผลรางวัล (ประเภทละครโทรทัศน์)

[แก้]

เฉพาะ นักแสดงนำ, นักแสดงสมทบ, ละคร, ทีมนักแสดง, บทโทรทัศน์, ละครชุด และ เพลงละคร

ครั้งที่
(ปีที่จัด)
นักแสดงนำชายยอดเยี่ยม นักแสดงนำหญิงยอดเยี่ยม นักแสดงสมทบชายยอดเยี่ยม นักแสดงสมทบหญิงยอดเยี่ยม
ครั้งที่ 1
(2552)
ธีรเดช วงศ์พัวพันธ์
สูตรเสน่หา
(ช่อง 3)
แอน ทองประสม
สูตรเสน่หา
(ช่อง 3)
พงษ์พัฒน์ วชิระบรรจง
พระจันทร์สีรุ้ง
(ช่อง 3)
ณัฐริกา ธรรมปรีดานันท์
หยกลายเมฆ
(ช่อง 3)
ครั้งที่ 2
(2553)
ภูธเนศ หงษ์มานพ
มาลัยสามชาย
(ช่อง 5)
เฌอมาลย์ บุญยศักดิ์
ระบำดวงดาว
(ช่อง 3)
ชาตโยดม หิรัญยัษฐิติ
ไทรโศก
(ช่อง 3)
สุวัจนี ไชยมุสิก
ไทรโศก
(ช่อง 3)
ครั้งที่ 3
(2554)
ณเดชน์ คูกิมิยะ
เกมร้ายเกมรัก
(ช่อง 3)
อารยา เอ ฮาร์เก็ต
ดอกส้มสีทอง
(ช่อง 3)
ชาตโยดม หิรัญยัษฐิติ
รอยไหม
(ช่อง 3)
ชุดาภา จันทเขตต์
รอยไหม
(ช่อง 3)
ครั้งที่ 4
(2555)
ณเดชน์ คูกิมิยะ
ธรณีนี่นี้ใครครอง
(ช่อง 3)
ศิรพันธ์ วัฒนจินดา
บ่วง
(ช่อง 3)
รวิชญ์ เทิดวงศ์
แรงเงา
(ช่อง 3)
ธัญญาเรศ เองตระกูล
แรงเงา
(ช่อง 3)
ครั้งที่ 5
(2556)
ณัฐวุฒิ สกิดใจ
ทองเนื้อเก้า
(ช่อง 3)
วรนุช ภิรมย์ภักดี
ทองเนื้อเก้า
(ช่อง 3)
อเล็กซ์ เรนเดลล์
สามี
(ช่อง 3)
อำภา ภูษิต
ทองเนื้อเก้า
(ช่อง 3)
ครั้งที่ 6
(2557)
ณเดชน์ คูกิมิยะ
รอยฝันตะวันเดือด
(ช่อง 3)
แอน ทองประสม
อย่าลืมฉัน
(ช่อง 3)
วรวุฒิ นิยมทรัพย์
มาลีเริงระบำ
(ช่อง 3)
วรัทยา นิลคูหา
สามีตีตรา
(ช่อง 3)
ครั้งที่ 7
(2558)
ศุกลวัฒน์ คณารศ
เพื่อน-แพง
(ช่อง 7)
รัดเกล้า อามระดิษ
สุดแค้นแสนรัก
(ช่อง 3)
ธนากร โปษยานนท์
ตามรักคืนใจ
(ช่อง 3)
พรชิตา ณ สงขลา
สุดแค้นแสนรัก
(ช่อง 3)
ครั้งที่ 8
(2559)
ณวัฒน์ กุลรัตนรักษ์
พิษสวาท
(ช่องวัน 31)
ณฐพร เตมีรักษ์
นาคี
(ช่อง 3)
สันติสุข พรหมศิริ
ขมิ้นกับปูน
(ช่อง 7)
อริศรา วงษ์ชาลี
นาคี
(ช่อง 3)
ครั้งที่ 9
(2560)
ธนภพ ลีรัตนขจร
Project S The Series
ตอน พี่น้องลูกขนไก่
(จีเอ็มเอ็ม 25)
ลลิตา ปัญโญภาส
ล่า
(ช่องวัน 31)
หลุยส์ สก๊อต
เพลิงบุญ
(ช่อง 3)
นิษฐา จิรยั่งยืน
รากนครา
(ช่อง 3)
ครั้งที่ 10
(2561)
ศักดิ์สิทธิ์ แท่งทอง
เลือดข้นคนจาง
(ช่องวัน 31)
ราณี แคมเปน
บุพเพสันนิวาส
(ช่อง 3)
ธนภพ ลีรัตนขจร
เลือดข้นคนจาง
(ช่องวัน 31)
มารี เบิร์นเนอร์
เมีย 2018
(ช่องวัน 31)
ครั้งที่ 11
(2562)
จิรายุ ตั้งศรีสุข
กรงกรรม
(ช่อง 3)
พิมพ์ชนก ลือวิเศษไพบูลย์
ใบไม้ที่ปลิดปลิว
(ช่องวัน 31)
มนตรี เจนอักษร
กลิ่นกาสะลอง
(ช่อง 3)
พิชชาภา พันธุมจินดา
กรงกรรม
(ช่อง 3)
ครั้งที่ 12
(2563)
ธนภพ ลีรัตนขจร
ขอเกิดใหม่ใกล้ๆเธอ
(ช่องวัน 31)
สุวนันท์ ปุณณกันต์
อุ้มรักเกมลวง
(ช่องวัน 31)
ดอม เหตระกูล
อุ้มรักเกมลวง
(ช่องวัน 31)
คัทลียา แมคอินทอช
One Year 365 วัน บ้านฉัน บ้านเธอ
(ช่องวัน 31)
(ไลน์ทีวี)
ครั้งที่ 13
(2564)
ชาคริต แย้มนาม
วันทอง
(ช่องวัน 31)
ดาวิกา โฮร์เน่
วันทอง
(ช่องวัน 31)
จิรายุ ตันตระกูล
กระเช้าสีดา
(ช่องวัน 31)
อัษฎาพร สิริวัฒน์ธนกุล
กระเช้าสีดา
(ช่องวัน 31)
ครั้งที่ 14
(2565)
ธนภพ ลีรัตนขจร
ใต้หล้า
(ช่องวัน 31)
อุรัสยา เสปอร์บันด์
คือเธอ
(ช่อง 3)
อนุชิต สพันธุ์พงษ์
บ่วงใบบุญ
(ช่อง 8)
ใหม่ เจริญปุระ
สาปซ่อนรัก
(ช่อง 3)
ครั้งที่ 15
(2566)
อนันดา เอเวอร์ริ่งแฮม
เกมรักทรยศ
(ช่อง 3)
แอน ทองประสม
เกมรักทรยศ
(ช่อง 3)
ชาตโยดม หิรัณยัษฐิติ
มาตาลดา
(ช่อง 3)
ทัศน์วรรณ เสนีย์วงศ์ ณ อยุธยา
มาตาลดา
(ช่อง 3)

ผลรางวัล (ละครเย็น)

[แก้]
ครั้ง (ปี) ที่จัด ละครยอดเยี่ยม นักแสดงนำชายยอดเยี่ยม นักแสดงนำหญิงยอดเยี่ยม ผู้กำกับยอดเยี่ยม บทโทรทัศน์ยอดเยี่ยม
ครั้งที่ 15
(2566)
ดอกหญ้าป่าคอนกรีต (ช่องวัน 31) รัศมีแข ฟ้าเกื้อล้น
ผู้ใหญ่ลี ศรีบานเย็น (ช่องเวิร์คพอยท์)
อิศริยา สายสนั่น
เลือดกากี (ช่อง 8)
หลักเขต วสิกชาติ
ดอกหญ้าป่าคอนกรีต (ช่องวัน 31)
จันทร์พันแสง
ดอกหญ้าป่าคอนกรีต (ช่องวัน 31)

ผลรางวัล (ประเภทแพลตฟอร์ม)

[แก้]
ครั้ง (ปี) ที่จัด ละครและซีรีส์ยอดเยี่ยม นักแสดงนำชายยอดเยี่ยม นักแสดงนำหญิงยอดเยี่ยม นักแสดงสมทบชายยอดเยี่ยม บทต้นฉบับละครและซีรีส์ยอดเยี่ยม
ครั้งที่ 12
(2563)
แปลรักฉันด้วยใจเธอ (LineTV) พุฒิพงศ์ อัสสรัตนกุล
ซีรีส์ แปลรักฉันด้วยใจเธอ (LineTV)
เขมนิจ จามิกรณ์
Mother เรียกฉันว่าแม่ (LineTV)
นฤเบศ กูโน, อรัชพร โภคินภากร, การะเกด นรเศรษฐาภรณ์,

ณรณ เชิดสูงเนิน แปลรักฉันด้วยใจเธอ (LineTV)

ครั้งที่ 13
(2564)
แปลรักฉันด้วยใจเธอ Part2 (LineTV) พุฒิพงศ์ อัสสรัตนกุล
ซีรีส์ แปลรักฉันด้วยใจเธอ Part2 (LineTV)
- โอบนิธิ วิวรรธนวรางค์
แปลรักฉันด้วยใจเธอ part 2 (Linetv)
นฤเบศ กูโน, อรัชพร โภคินภากร, การะเกด นรเศรษฐาภรณ์,

ณรณ เชิดสูงเนิน แปลรักฉันด้วยใจเธอ (LineTV)

ครั้งที่ 15
(2567)
ทีมรักนักหลอก (เน็ตฟลิกซ์) ณัฐรัตน์ นพรัตยาภรณ์
ซีรีส์ ดีลีต (เน็ตฟลิกซ์)
ดาวิกา โฮร์เน่
ซีรีส์ เรื่องตลก 69 (เน็ตฟลิกซ์)
- ทีมรักนักหลอก (เน็ตฟลิกซ์)

ผลรางวัล (ประเภทละครโทรทัศน์)

[แก้]
ครั้ง (ปี) ที่จัด ละครยอดเยี่ยม ผู้กำกับยอดเยี่ยม บทโทรทัศน์ยอดเยี่ยม ละครชุดยอดเยี่ยม ทีมนักแสดงยอดเยี่ยม
ครั้งที่ 1 (2552) ชิงชัง
(ช่อง 5)
สันต์ ศรีแก้วหล่อ
ชิงชัง (ช่อง 5)
ยิ่งยศ ปัญญา
ผู้ใหญ่ลีกับนางมา (ช่อง 3)
บ้านนี้มีรัก
(โมเดิร์นไนน์ทีวี)
เป็นต่อ
(ช่อง 3)
ครั้งที่ 2 (2553) มาลัยสามชาย
(ช่อง 5)
ผอูน จันทรศิริ
มาลัยสามชาย (ช่อง 5)
ปราณประมูล
มาลัยสามชาย (ช่อง 5)
4 หัวใจแห่งขุนเขา
(ช่อง 3)
มาลัยสามชาย
(ช่อง 5)
ครั้งที่ 3 (2554) รอยไหม
(ช่อง 3)
พงษ์พัฒน์ วชิระบรรจง
รอยไหม (ช่อง 3)
ศัลยา
ดอกส้มสีทอง (ช่อง 3)
เป็นต่อ
(ช่อง 3)
เป็นต่อ
(ช่อง 3)
ครั้งที่ 4 (2555) ขุนศึก
(ช่อง 3)
ชนินทร ประเสริฐประศาสน์
แรงเงา (ช่อง 3)
วิสุทธิชัย บุณยะกาญจน
แรงเงา (ช่อง 3)
บันทึกกรรม
(ช่อง 3)
แรงเงา
(ช่อง 3)
ครั้งที่ 5 (2556) ทองเนื้อเก้า
(ช่อง 3)
พงษ์พัฒน์ วชิรบรรจง
ทองเนื้อเก้า (ช่อง 3)
ยิ่งยศ ปัญญา
ทองเนื้อเก้า (ช่อง 3)
บันทึกกรรม
(ช่อง 3)
ทองเนื้อเก้า
(ช่อง 3)
ครั้งที่ 6 (2557) สามีตีตรา
(ช่อง 3)
อำไพพร จิตต์ไม่งง
สามีตีตรา (ช่อง 3)
วรรณวิภา สามงามแจ่ม
สามีตีตรา (ช่อง 3)
Club friday the series5 ความรักกับความลับ
(ช่อง Gmm25)
สามีตีตรา
(ช่อง 3)
ครั้งที่ 7 (2558) สุดแค้นแสนรัก
(ช่อง 3)
กฤษณ์ ศุกระมงคล
สุดแค้นแสนรัก (ช่อง 3)
เอกลิขิต
ข้าบดินทร์ (ช่อง 3)
club friday the series 6
(ช่อง Gmm25)
สุดแค้นแสนรัก
(ช่อง 3)
ครั้งที่ 8 (2559) นาคี
(ช่อง 3)
พงษ์พัฒน์ วชิรบรรจง
นาคี (ช่อง 3)
ณัฐิยา ศิรกรวิไล, กุศลิน เมฆวิภาค, ชญานิน, สายขิม, วาณี, กัลยาณมิตร
วัยแสบสาแหรกขาด (ช่อง 3)
Club Friday The Series 7 เหตุเกิดจากความรัก
(ช่อง Gmm25)
นาคี
(ช่อง 3)
ครั้งที่ 9 (2560) Project S The Series ตอน พี่น้องลูกขนไก่
(จีเอ็มเอ็ม 25)
พงษ์พัฒน์ วชิรบรรจง
รากนครา (ช่อง 3)
ยิ่งยศ ปัญญา
รากนครา (ช่อง 3)
Club Friday the Series 9 รักครั้งหนึ่ง ที่ไม่ถึงตาย
(จีเอ็มเอ็ม 25)
Project S The Series ตอน พี่น้องลูกขนไก่
(จีเอ็มเอ็ม 25)
ครั้งที่ 10 (2561) บุพเพสันนิวาส
(ช่อง 3)
ทรงยศ สุขมากอนันต์
เลือดข้นคนจาง (ช่องวัน 31)
ศัลยา สุขนิวัตติ์
บุพเพสันนิวาส (ช่อง 3)
Club Friday the Series 9 รักครั้งหนึ่ง ที่ไม่ถึงตาย
(จีเอ็มเอ็ม 25)
เลือดข้นคนจาง
(ช่องวัน 31)
ครั้งที่ 11 (2562) กรงกรรม
(ช่อง 3)
พงษ์พัฒน์ วชิรบรรจง
กรงกรรม (ช่อง 3)
ยิ่งยศ ปัญญา
กรงกรรม (ช่อง 3)
- กรงกรรม
(ช่อง 3)
ครั้งที่ 12 (2563) ฉลาดเกมส์โกง
(ช่องวัน 31)
พัฒน์ บุญนิธิพัฒน์
ฉลาดเกมส์โกง (ช่องวัน 31)
พัฒน์ บุญนิธิพัฒน์, ทศพร เหรียญทอง, วสุธร ปิยารมณ์, ธนีดา หาญทวีวัฒนา, ศิรดา ไตรตรึงษ์ทัศนา
ฉลาดเกมส์โกง (ช่องวัน 31)
- ฉลาดเกมส์โกง
(ช่องวัน 31)
ครั้งที่ 13 (2564) วันทอง
(ช่องวัน 31)
สันต์ ศรีแก้วหล่อ
วันทอง (ช่องวัน 31)
พิมพ์มาดา พัฒนอลงกรณ์
วันทอง (ช่องวัน 31)
Club Friday the Series
(ช่องวัน 31)
-
ครั้งที่ 14 (2565) จากเจ้าพระยาสู่อิรวดี
(ไทยพีบีเอส)
สันต์ ศรีแก้วหล่อ
ใต้หล้า (ช่องวัน 31)
ชาติชาย เกษนัส, พิมพ์ภณิดา พันธุ์ใหม่, จารุนันท์ พันธชาติ, วนิดา มงคลวิทย์, กานต์ชนิต พันธุลี, เม เมียว ฮัน
จากเจ้าพระยาสู่อิรวดี (ไทยพีบีเอส)
- จากเจ้าพระยาสู่อิรวดี
(ไทยพีบีเอส)
ครั้งที่ 15 (2566) มาตาลดา
(ช่อง 3)
ปวันรัตน์ นาคสุริยะ
มาตาลดา
(ช่อง 3)
Script Maker
มาตาลดา
(ช่อง 3)
- มาตาลดา

(ช่อง3)


ครั้ง (ปี) ที่จัด เพลงละครยอดเยี่ยม โทรทัศน์
ครั้งที่ 1 (2552) รักเจ้าเอย ขับร้องโดย สุรัตน์ติกานต์ พรรคเจริญ ช่อง 5
ครั้งที่ 2 (2553) ให้รักเดินทางมาเจอกัน ขับร้องโดย ธนิดา ธรรมวิมล และ ปองกูล สืบซึ้ง ช่อง 3
ครั้งที่ 3 (2554) ผิดไหม ขับร้องโดย เจนนิเฟอร์ คิ้ม ช่อง 3
ครั้งที่ 4 (2555) เงาที่มีหัวใจ ขับร้องโดย มิณฑิตา วัฒนกุล ช่อง 3
ครั้งที่ 5 (2556) รักแท้เหนือกาลเวลา ขับร้องโดย ปองกูล สืบซึ้ง ช่อง 3
ครั้งที่ 6 (2557) ฉันก็รักของฉัน ขับร้องโดย นิว จิ๋ว ช่อง 3
ครั้งที่ 7 (2558) เจ็บนี้จำจนตาย ขับร้องโดย นัดดา วิยกาญจน์ ช่อง 3
ครั้งที่ 8 (2559) คู่คอง ขับร้องโดย ก้อง ห้วยไร่ ช่อง 3
ครั้งที่ 9 (2560) เสียแรง ขับร้องโดย ธนพร แวกประยูร ช่อง 3
ครั้งที่ 10 (2561) บุพเพสันนิวาส ขับร้องโดย ศรัณยู วินัยพานิช ช่อง 3
ครั้งที่ 11 (2562) ผิดหรือที่รักเธอ ขับร้องโดย ใหม่ เจริญปุระ ช่อง 3
ครั้งที่ 12 (2563) คั่นกู ขับร้องโดย วชิรวิชญ์ ชีวอารี ช่อง GMM25
ครั้งที่ 13 (2564) สองใจ ขับร้องโดย ธนิดา ธรรมวิมล ช่อง one31
ครั้งที่ 14 (2565) รักแท้ ขับร้องโดย ชวรินทร์ เพริศพิริยะวงศ์ ช่อง one31
ครั้งที่ 15 (2566) ข้ามเวลา ขับร้องโดย วิโอเลต วอเทียร์ ช่อง 3


สถิติรางวัล

[แก้]


ละครที่ชนะห้าสาขาใหญ่ (Big Five)

[แก้]

ตัวหนา หมายถึงผู้ชนะ

ครั้งที่
ปี จำนวนการเข้าชิง จำนวนการชนะ ห้าสาขาใหญ่ ละครยอดเยี่ยม ผู้กำกับยอดเยี่ยม
นักแสดงนำชายยอดเยี่ยม นักแสดงนำหญิงยอดเยี่ยม
บทโทรทัศน์ยอดเยี่ยม
5 2556 13 9 5 ทองเนื้อเก้า พงษ์พัฒน์ วชิรบรรจง ณัฐวุฒิ สกิดใจ วรนุช ภิรมย์ภักดี ยิ่งยศ ปัญญา
13 2564 9 7 5 วันทอง สันต์ ศรีแก้วหล่อ ชาคริต แย้มนาม ดาวิกา โฮร์เน่ พิมพ์มาดา พัฒนอลงกรณ์

พิมสิรินทร์ พงษ์วานิชสุข จุติมา แย้มศิริ

ณวัฒน์ กุลรัตนรักษ์
2 2553 10 6 4 มาลัยสามชาย ผอูน จันทรศิริ ภูธเนศ หงษ์มานพ พิยดา จุฑารัตนกุล ปราณประมูล
10 2561 11 4 3 บุพเพสันนิวาส ภวัต พนังคศิริ ธนวรรธน์ วรรธนะภูติ ราณี แคมเปน ศัลยา สุขนิวัตติ์
1 2552 7 3 2 สูตรเสน่หา อำไพพร จิตต์ไม่งง ธีรเดช วงศ์พัวพันธ์ แอน ทองประสม ณัฐิยา ศิรกรวิไล
10 2561 12 6 2 เลือดข้นคนจาง ทรงยศ สุขมากอนันต์ ศักดิ์สิทธิ์ แท่งทอง คัทลียา แมคอินทอช ฤทัยวรรณ วงศ์สิรสวัสดิ์

ชลลดา เตียวสุวรรณ

ทรงยศ สุขมากอนันต์

เกรียงไกร วชิรธรรมพร

ศุภกฤษ์ นิงสานนท์

ทศพร เหรียญทอง

วสุธร ปิยารมณ์

8 2559 13 1 1 พิษสวาท สันต์ ศรีแก้วหล่อ ณวัฒน์ กุลรัตนรักษ์ วรนุช ภิรมย์ภักดี พิมพ์มาดา พัฒนอลงกรณ์

วรรณถวิล สุขน้อย

พิมสิรินทร์ พงษ์วานิชสุข

ณัฐกฤตา แย้มศิริ

10 2561 7 1 0 เมีย 2018 สันต์ ศรีแก้วหล่อ ณวัฒน์ กุลรัตนรักษ์ น้ำทิพย์ จงรัชตวิบูลย์ วรรธนา วีรยวรรธน
4 2555 10 0 0 หยกเลือดมังกร ธงชัย ประสงค์สันติ ศรัณย์ ศิริลักษณ์ พีชญา วัฒนามนตรี แพรพริมา
5 2556 10 0 0 คู่กรรม สันต์ ศรีแก้วหล่อ สุกฤษฎิ์ วิเศษแก้ว หนึ่งธิดา โสภณ ปราณประมูล
5 2556 15 0 0 เรือนเสน่หา ฉัตรชัย สุรสิทธิ์ ศักดิ์สิทธิ์ แท่งทอง น้ำทิพย์ จงรัชตวิบูลย์ ชวนนท์ สารพัฒน์

วรรณถวิล สุขน้อย

อภิศรา วงศร

6 2557 8 0 0 อีสา-รวีช่วงโชติ สันต์ ศรีแก้วหล่อ ณวัฒน์ กุลรัตนรักษ์ วรนุช ภิรมย์ภักดี ศิริลักษณ์ ศรีสุคนธ์


ละครที่มีนักแสดงเข้าชิงสี่สาขาการแสดง (All Four Acting)

[แก้]

ตัวหนา หมายถึงผู้ชนะเลิศอันดับหนึ่งของโลก

ปี ครั้งที่ ละคร จำนวนการเข้าชิงทั้งหมด จำนวนการชนะทั้งหมด จำนวนการเข้าชิงสาขาการแสดง จำนวนการชนะสาขาการแสดง นักแสดงนำชายยอดเยี่ยม นักแสดงนำหญิงยอดเยี่ยม นักแสดงสมทบชายยอดเยี่ยม นักแสดงสมทบหญิงยอดเยี่ยม ละครยอดเยี่ยม
2556 5 ทองเนื้อเก้า 13 9 5 3 ณัฐวุฒิ สกิดใจ วรนุช ภิรมย์ภักดี ชลิต เฟื่องอารมย์ อำภา ภูษิต ชนะ
ยงศิลป์ วงศ์พนิตนนท์
2556 5 เรือนเสน่หา 15 10 6 10 ศักดิ์สิทธิ์ แท่งทอง นภาวดี

ไตรพิษ

ชัยพล จูเลี่ยน พูพาร์ต พิมพ์มาดา บริรักษ์ศุภกร รองชนะ
อาณัตพล ศิริชุมแสง รัญญา ศิยานนท์
2557 6 อีสา-รวีช่วงโชติ 8 0 5 0 ณวัฒน์ กุลรัตนรักษ์ วรนุช ภิรมย์ภักดี ภูธเนศ หงษ์มานพ สินจัย เปล่งพานิช เข้าชิง
ปฏิภาณ ปฐวีกานต์
2559 8 พิษสวาท 13 1 4 1 ณวัฒน์ กุลรัตนรักษ์ วรนุช ภิรมย์ภักดี เจษฎ์พิพัฒ ติละพรพัฒน์ เรวิญานันท์ ทาเกิด เข้าชิง
2561 10 เลือดข้นคนจาง 12 6 4 2 ศักดิ์สิทธิ์ แท่งทอง คัทลียา แมคอินทอช ธนภพ ลีรัตนขจร อาภาศิริ จันทรศิริ เข้าชิง
2561 10 เมีย 2018 7 1 4 1 ณวัฒน์ กุลรัตนรักษ์ น้ำทิพย์ จงรัชตวิบูลย์ ธนภัทร กาวิละ มารี เบิร์นเนอร์ เข้าชิง
2566 15 เกมรักทรยศ 7 2 4 2 อนันดา เอเวอร์ริ่งแฮม แอน ทองประสม ณัฐพัชร์ นิมจิรวัฒน์ มาชิดา สุทธิกุลพานิช เข้าชิง

นักแสดงที่ได้รับรางวัลสาขาการแสดงมากกว่า 1 ครั้ง

[แก้]
  • ไม่นับรวมสาขาทีมนักแสดงยอดเยี่ยม เนื่องจากสาขาทีมนักแสดงยอดเยี่ยมไม่ได้ประกาศรายชื่อนักแสดงที่เข้าชิง ประกาศเพียงแค่ชื่อละครที่เข้าชิงเท่านั้น
จำนวนครั้งที่ได้รับรางวัล ผู้ได้รับรางวัล ละครโทรทัศน์ ละครและซีรีส์ (บนแพลตฟอร์มออนไลน์)
นักแสดงนำ นักแสดงสมทบ นักแสดงดาวรุ่ง นักแสดงนำ นักแสดงสมทบ
4 ธนภพ ลีรัตนขจร 3 1
3 ณเดชน์ คูกิมิยะ 3
ชาตโยดม หิรัญยัษฐิติ 3
แอน ทองประสม 3
2 พิมพ์ชนก ลือวิเศษไพบูลย์ 1 1
พุฒิพงศ์ อัสสรัตนกุล 2

นักแสดงที่เข้าชิงรางวัลสาขาการแสดงมากกว่า 1 ครั้ง

[แก้]
  • ไม่นับรวมสาขาทีมนักแสดงยอดเยี่ยม เนื่องจากสาขาทีมนักแสดงยอดเยี่ยมไม่ได้ประกาศรายชื่อนักแสดงที่เข้าชิง ประกาศเพียงแค่ชื่อละครที่เข้าชิงเท่านั้น
จำนวนครั้งที่เข้าชิงรางวัล ผู้เข้าชิงรางวัล ละครโทรทัศน์ ละครและซีรีส์ (บนแพลตฟอร์มออนไลน์)
นักแสดงนำ นักแสดงสมทบ นักแสดงดาวรุ่ง นักแสดงนำ นักแสดงสมทบ
9 ณเดชน์ คูกิมิยะ 9
6 ณวัฒน์ กุลรัตนรักษ์ 6
แอน ทองประสม 6
5 ธนภพ ลีรัตนขจร 4 1
วรนุช ภิรมย์ภักดี 5
สินจัย เปล่งพานิช 3 2
4 ชาคริต แย้มนาม 3 1
ณฐพร เตมีรักษ์ 4
ณัฐวุฒิ สกิดใจ 4
ดวงดาว จารุจินดา 4
นิรุตติ์ ศิริจรรยา 2 2
ปิยธิดา มิตรธีรโรจน์ 4
พัชราภา ไชยเชื้อ 4
พิมพ์ชนก ลือวิเศษไพบูลย์ 3 1
3 เขมนิจ จามิกรณ์ 2 1
คัทลียา แมคอินทอช 1 2
จิรายุ ตันตระกูล 3
จีรนันท์ มะโนแจ่ม 1 2
เจมส์ มาร์ 3
ชาตโยดม หิรัญยัษฐิติ 3
ดาวิกา โฮร์เน่ 3
ธนภัทร กาวิละ 2 1
ธีรเดช วงศ์พัวพันธ์ 3
น้ำทิพย์ จงรัชตวิบูลย์ 3
ภูธเนศ หงษ์มานพ 2 1
ศิรพันธ์ วัฒนจินดา 2 1
สุกฤษฎิ์ วิเศษแก้ว 3
หลุยส์ สก๊อต 3
อาภาศิริ จันทรัศมี 3
อุรัสยา เสปอร์บันด์ 3
2 กฤษฏ์ อำนวยเดชกร 2
คะนึงนิจ จักรสมิทธานนท์ 2
เคลลี่ ธนะพัฒน์ 1 1
จิรายุ ตั้งศรีสุข 2
เจนี่ เทียนโพธิ์สุวรรณ์ 2
เจษฎาภรณ์ ผลดี 2
ฉัตรชัย เปล่งพานิช 1 1
ชลาทิศ ตันติวุฒิ 1 1
ชัยพล จูเลี่ยน พูพาร์ต 2
เฌอมาลย์ บุณยศักดิ์ 2
นิษฐา จิรยั่งยืน 2
ธนวรรธน์ วรรธนะภูติ 1 1
ธัญญาเรศ รามณรงค์ 2
ปริญ สุภารัตน์ 2
พิมพ์มาดา บริรักษ์ศุภกร 2
พิยดา จุฑารัตนกุล 2
พีชญา วัฒนามนตรี 2
พุฒิพงศ์ อัสสรัตนกุล 2
มนัสนันท์ พันเลิศวงศ์สกุล 2
มรกต แสงทวีป 2
ราณี แคมเปน 2
รินลณี ศรีเพ็ญ 2
เรวิญานันท์ ทาเกิด 2
วรวุฒิ นิยมทรัพย์ 1 1
วรัทยา นิลคูหา 1 1
ศรัณย์ ศิริลักษณ์ 2
ศักดิ์สิทธิ์ แท่งทอง 2
ศิวัฒน์ โชติชัยชรินทร์ 2
ศุกลวัฒน์ คณารศ 2
สหรัถ สังคปรีชา 2
สาวิกา ไชยเดช 1 1
สันติสุข พรหมศิริ 2
อคัมย์สิริ สุวรรณศุข 1 1
อธิชาติ ชุมนานนท์ 2
อนุชิต สพันธุ์พงษ์ 2
อัษฎาพร สิริวัฒน์ธนกุล 1 1
อารยา เอ ฮาร์เก็ต 2

นักแสดงที่ได้รับการเสนอชื่อเข้าชิงสาขาการแสดงมากกว่า 1 รายชื่อในปีเดียวกัน

[แก้]
  • ไม่นับรวมสาขาทีมนักแสดงยอดเยี่ยม เนื่องจากสาขาทีมนักแสดงยอดเยี่ยมไม่ได้ประกาศรายชื่อนักแสดงที่เข้าชิง ประกาศเพียงแค่ชื่อละครที่เข้าชิงเท่านั้น
ปี
(ครั้งที่จัดงาน)
นักแสดง สาขารางวัล ละคร ผลรางวัล
2552
(1)
แอน ทองประสม นักแสดงนำหญิงยอดเยี่ยม สูตรเสน่หา ชนะ
บริษัทบำบัดแค้น เสนอชื่อเข้าชิง
ฉัตรชัย เปล่งพานิช นักแสดงนำชายยอดเยี่ยม น้ำผึ้งขม เสนอชื่อเข้าชิง
นักแสดงสมทบชายยอดเยี่ยม ดงผู้ดี เสนอชื่อเข้าชิง
2558
(7)
ศิรพันธ์ วัฒนจินดา นักแสดงนำหญิงยอดเยี่ยม ผู้หญิงคนนั้นชื่อบุญรอด เสนอชื่อเข้าชิง
นักแสดงสมทบหญิงยอดเยี่ยม บางระจัน เสนอชื่อเข้าชิง
2560
(9)
พิมพ์ชนก ลือวิเศษไพบูลย์ นักแสดงนำหญิงยอดเยี่ยม หลงไฟ เสนอชื่อเข้าชิง
นักแสดงดาวรุ่งหญิงยอดเยี่ยม ชนะ
หลุยส์ สก๊อต นักแสดงสมทบชายยอดเยี่ยม เพลิงบุญ ชนะ
คลื่นชีวิต เสนอชื่อเข้าชิง
2564
(13)
นิรุตติ์ ศิริจรรยา นักแสดงนำชายยอดเยี่ยม Tea Box ชายชรากับหมาบ้า เสนอชื่อเข้าชิง
นักแสดงสมทบชายยอดเยี่ยม ตะวันตกดิน เสนอชื่อเข้าชิง

อ้างอิง

[แก้]

แหล่งข้อมูลอื่น

[แก้]